กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง


“ โครงการ “การจัดการขยะเพื่อสุขภาพที่ดีของคนในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2566” ”

ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมุรณีย์ อาแว

ชื่อโครงการ โครงการ “การจัดการขยะเพื่อสุขภาพที่ดีของคนในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2566”

ที่อยู่ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L2995-1-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ “การจัดการขยะเพื่อสุขภาพที่ดีของคนในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2566” จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ “การจัดการขยะเพื่อสุขภาพที่ดีของคนในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2566”



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะมูลฝอยที่ถูกต้องและเหมาะสม 2. เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการคัดแยกขยะ และเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ 3. เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดี และป้องกันโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากขยะมูลฝอย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ ครู ก ในการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ในการคัดแยกขยะ สร้างจิตสำนึกเพื่อสุขภาพที่ดีของคนในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 มาตรา 22 (3) ให้องค์การบริหารส่วนตำบลจัดให้มีและรักษาระบายน้ำและรักษาความสะอาดทางถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งการกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก้องค์กรปกครองส่วนครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 (18) ให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ในการกำจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้ำเสีย ตามแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะของประเทศ (พ.ศ.2559-2564) เพื่อส่งเสริมการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทางโดยมุ่งเน้นการใช้หลักการ 3Rs (ใช้น้อย ใช้ซ้ำ และแปรรูปมาใช้ใหม่) มุ่งเน้นการจัดการขยะต้นทางในชุมชน นอกจากนี้ขยะยังเป็นแหล่งเพาะพันธ์ของยุง, หนู, แมลงสาบ เป็นต้น ซึ่งเป็นบ่อเกิดการเกิดโรคติดต่อในคนและสัตว์ ปัจจุบันมีอัตราการเพิ่มของปริมาณขยะจากครัวเรือน สาเหตุหลักเกิดจากการเปลี่ยนแปลงวิถีการดำเนินชีวิตของประชาชนในตำบลท่าบอน ซึ่งเห็นว่าขยะมูลฝอยมีอัตราเพิ่มขึ้นโดยอัตโนมัติ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่การผลิตแบบอุตสาหกรรมวัสดุบรรจุภัณฑ์สำหรับอาหารมีความสำคัญและจำเป็นให้วัตถุประเภทพลาสติกเกิดขึ้นมากมาย และมีความหลากหลายอยู่ทั่วไปในท้องตลาด ถุงพลาสติกทำให้เกิดความสะดวกมากขึ้นทั้งต่อผู้ขายและผู้ซื้อ ในในขณะเดียวกันในตัวอำเภอได้มีห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่เกิดขึ้น ซึ่งไม่ได้แค่ตัวผลิตภัณฑ์เท่านั้นหากยังพ่วงเอาขยะกลับบ้านอีกเป็นจำนวนมาก ดังนั้นการผลิตในภาคอุตสาหกรรม และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภค มีส่วนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบของขยะ ในปัจจุบันสามารถแบ่งตามองค์ประกอบหลักได้ 4 ส่วน คือ ขยะย่อยสลายได้ร้อยละ 64, ขยะรีไซเคิลร้อยละ 30, ของเสียอันตรายร้อยละ 30 ของเสียอันตรายร้อยละ 3 และขยะอื่นๆ ร้อยละ 3 ดังนั้นการจัดการขยะต้นทางเพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่ามีประสิทธิภาพและยั่งยืนส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นน้อยลง โดยนำแนวทางการลด ใช้ซ้ำ และแปรรูปใช้ใหม่
ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกลาง จึงเห็นความสำคัญในการสร้างสุขภาวะที่ดีให้เกิดขึ้นในชุมชน โดยได้จัดทำโครงการ “การจัดการขยะเพื่อสุขภาพที่ดีของคนในชุมชน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖6” เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ เกิดจิตสำนึก และมีส่วนร่วมในการดำเนินงานด้านการคัดแยกขยะ สามารถนำไปใช้ประโยชน์และนำไปกำจัดอย่างถูกหลักสุขาภิบาล เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในตำบลบ้านกลางอย่างยังยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะมูลฝอยที่ถูกต้องและเหมาะสม 2. เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการคัดแยกขยะ และเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ 3. เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดี และป้องกันโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากขยะมูลฝอย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้ ครู ก ในการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ในการคัดแยกขยะ สร้างจิตสำนึกเพื่อสุขภาพที่ดีของคนในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 92
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ทำให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการบริหารจัดการขยะ เกิดจิตสำนึกและตระหนักถึงขยะมูลฝอยและขยะอันตราย
2 ทำให้ประชาชนมีการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการคัดแยกขยะต้นทาง และขยะอันตรายออกจากชุมชน
3 ประชาชนมีรายได้ให้กับครัวเรือนจากการแปรรูปขยะ ขายขยะ Recycle และใช้ประโยชย์จากขยะอินทรีย์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้ ครู ก ในการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ในการคัดแยกขยะ สร้างจิตสำนึกเพื่อสุขภาพที่ดีของคนในชุมชน

วันที่ 10 มกราคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ในวันที่ 10 เดือน มกราคม พ.ศ. 2566 จัดอบรมให้ความรู้ ครู ก ในการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ในการคัดแยกขยะ สร้างจิตสำนึกเพื่อสุขภาพที่ดีของคนในชุมชน ณ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกลาง มีกลุ่มเป้าเข้าอบรม กลุ่มเป้าหมายกลุ่ม อาสาสมัครสาธารณสุข สมาชิก อบต.บ้านกลาง และผู้นำชุมชน จำนวน 62 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทำให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการบริหารจัดการขยะ เกิดจิตสำนึกและตระหนักถึงขยะมูลฝอยและขยะอันตราย
  2. ทำให้ประชาชนมีการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการคัดแยกขยะต้นทาง และขยะอันตรายออกจากชุมชน
  3. ประชาชนมีรายได้ให้กับครัวเรือนจากการแปรรูปขยะ ขายขยะ Recycle และใช้ประโยชย์จากขยะอินทรีย์

 

92 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ในวันที่ 10 เดือน มกราคม พ.ศ. 2566 จัดอบรมให้ความรู้ ครู ก ในการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ในการคัดแยกขยะ สร้างจิตสำนึกเพื่อสุขภาพที่ดีของคนในชุมชน ณ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกลาง มีกลุ่มเป้าเข้าอบรม กลุ่มเป้าหมายกลุ่ม อาสาสมัครสาธารณสุข สมาชิก อบต.บ้านกลาง และผู้นำชุมชน จำนวน 62 คน ผลการดำเนินกิจกรรมบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทำให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการบริหารจัดการขยะ เกิดจิตสำนึกและตระหนักถึงขยะมูลฝอยและขยะอันตราย
2. ทำให้ประชาชนมีการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการคัดแยกขยะต้นทาง และขยะอันตรายออกจากชุมชน
3. ประชาชนมีรายได้ให้กับครัวเรือนจากการแปรรูปขยะ ขายขยะ Recycle และใช้ประโยชย์จากขยะอินทรีย์

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะมูลฝอยที่ถูกต้องและเหมาะสม 2. เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการคัดแยกขยะ และเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ 3. เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดี และป้องกันโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากขยะมูลฝอย
ตัวชี้วัด :
100.00
  1. ทำให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการบริหารจัดการขยะ เกิดจิตสำนึกและตระหนักถึงขยะมูลฝอยและขยะอันตราย
  2. ทำให้ประชาชนมีการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการคัดแยกขยะต้นทาง และขยะอันตรายออกจากชุมชน
  3. ประชาชนมีรายได้ให้กับครัวเรือนจากการแปรรูปขยะ ขายขยะ Recycle และใช้ประโยชย์จากขยะอินทรีย์

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 92 92
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 92 92
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะมูลฝอยที่ถูกต้องและเหมาะสม 2. เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการคัดแยกขยะ และเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ 3. เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดี และป้องกันโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากขยะมูลฝอย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ ครู ก ในการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ในการคัดแยกขยะ สร้างจิตสำนึกเพื่อสุขภาพที่ดีของคนในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ “การจัดการขยะเพื่อสุขภาพที่ดีของคนในชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2566” จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L2995-1-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมุรณีย์ อาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด