กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ


“ โครงการพัฒนาการดำเนินงานแก้ไขปัญหาด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางผุสร์สวดี ศิริหิงค์โค

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาการดำเนินงานแก้ไขปัญหาด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5282-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาการดำเนินงานแก้ไขปัญหาด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาการดำเนินงานแก้ไขปัญหาด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

(1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และเพิ่มศักยภาพในงานคุ้มครองผู้บริโภค

2) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเฝ้าระวัง แจ้งเตือนภัย และสามารถตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพด้วยชุดทดสอบขั้นพื้นฐานในชุมชนได้

(3) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมตรวจสอบ และเฝ้าระวังให้ประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยในด้านงานคุ้มครองผู้บริโภค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

1.กิจกรรมการอบรมเชิงปฎิบัติการ ผู้เข้าร่วมอบรม ผ่านการทำแบบสอบความรู้ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 90 ผู้เข้ารับการอบรมเชิงปฎิบัติการ จำนวน 93 คน จากเป้าหมาย 70 คน คิดเป็นผลงานร้อยละ 100 และผ่านการทดสอบความรู้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 67 คน คิดเป็น ร้อยละ 91.78

2.การฝึกปฎิบัติงานทดสอบผลิตภัณฑ์ ในชุมชน ผู้รับการฝึกปฎิบัติงาน จำนวน 73 คน จำนวน 4 กลุ่ม จำนวนสิ่งตัวอย่าง เครื่องสำอาง จำนวน 11 ตัวอย่าง อาหาร 14 ตัวอย่าง ยาสมุนไพร 4 ตัวอย่าง น้ำแข็ง 2 ตัวอย่าง จำนวน ทั้งสิ้น 31 ตัวอย่าง ตรวจและแปลผลได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 100

3.ความเป็นศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่ 12 /1 ตรัง ได้รับเงินเป็นหน่วยงานสนับสนุนสำหรับการดำเนินงาน และมาตรฐานทาง วิชาการ และการดำเนินงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง แต่เนื่องจากข้อกำจัดการดำเนินงาน ซึ่งต้องอาศัยพื้นที่เฉพาะ และครุภัณฑ์ประกอบกิจกรรม ทำให้ยังไม่สามารถจัดตั้งได้อย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน  ไม่มี

ข้อเสนอแนะ  ไม่มี

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาระโลกไร้พรมแดนในปัจจุบันจะเห็นได้ว่า ผลิตภัณฑ์สุขภาพทั้งในประเทศและต่างประเทศสามารถเข้าถึงผู้บริโภคในทุกระดับได้อย่างง่ายดาย ทั้งชุมชนเมืองและชนบท เมื่อพิจาราณากระบวนการตลาดแล้ว เมื่อมีการผลิตสินค้า ผู้ผลิตย่อมต้องการกำไรสูงสุด ดังนั้นในมาตราการต่างๆ ทางด้านการตลาดทั้งหลายย่อมถูกนำมาใช้เพื่อเพิ่มอุปสงค์ Demand ให้เพิ่มมากขึ้นตามความต้องการขาย supply ของผู้ประกอบการและในบางครั้งก่อให้เกิดอุปสงค์ลวง หรือเทียม ทั้งนี้ด้วยกลยุทธ์ทางการตลาด ภายใต้เทคนิคการส่งเสริมการขายที่หลากหลาย มีการลด แลก แจก แถม การอวดอ้างสรรพคุณเกินความเป็นจริง รวมทั้งการเปิดเผยข้อมูลเพียงด้านเดียว คือด้านดีเท่านั้น ส่วนข้อเสียหรือข้อมูลด้านลบของผลิตภัณฑ์นั้นส่วนใหญ่แล้วจะไม่เปิดเผยต่อผู้บริโภค ผู้ประกอบการเลือกที่จะปกปิดไว้ด้วยเหตุผลทางธุรกิจ โดยมิได้คำนึงผลเสียที่จะตามมาต่อผู้บริโภค ตลอดจนปราสจากการคำนึงถึงสิทธิ ในการรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ นอกจากนี้ในปัจุบันการสื่อสารมวลชนเข้ามามีบทบาทอย่างมากในการตลาด การโฆษณา การประชาสัมพันธ์ ในกระบวนการต่างๆ จะยิ่งเสริมการบริโภคในสังคมอย่างมาก หรือที่เรียกว่า เกิดรูปแบบที่เรียกว่าการบริโภคนิยมขึ้นในสังคม ทำให้ผู้บริโภคเกิดความต้องการที่จะบริโภค เกินกว่าความต้องการที่แท้จริง ตัวอย่างรูปธรรมที่เกิดขึ้น อาทิ การบริโภคยา หรืออาหารอย่างฟุ่มเฟื่อย จนบางครั้งเกิดโรคภัยไข้เจ็บจากผลิตภัณฑ์ที่บริโภคเข้าไป หรือก่อให้เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจโดยรวม นอกจากนี้ในระยะยาวยังก่อให้เกิดผลกระทบต่อ สมดุลด้านต่างๆในโลกเพราะยิ่งมีการบริโภคมากยิ่งขึ้นเท่าไร ก็จะยิ่งมีการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อเข้าสู่กระบวนการ ผลิตมากขึ้นเท่านั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านผัง 34 เป็นหน่วยบริการด้านสุขภาพภาครัฐที่อยู่ใกล้ชิดชุมชนมากที่สุดและประกอบไปด้วยเครือข่าย ภาคประชาชนในการปฏิบัติงานด้านสุขภาพ หากบุคลากรผู้ปฏิบัติและเครือข่ายสามารถดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข (คบส.) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก็จะเป็นการเสริมสร้างภูมิต้านทานของผู้บริโภคไม่ให้ถูกหลอกลวงจากผลิตภัณฑ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านผัง 34 จึงได้จัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภคภายใต้บริบท ที่สำคัญของงานคุ้มครองผู้บริโภค คือ การเข้าถึงบริการ การดูแลต่อเนื่อง การดูแลแบบองค์รวมและผสมผสาน การประสานบริการ และยึดชุมชนเป็นศูนย์กลาง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และเพิ่มศักยภาพในงานคุ้มครองผู้บริโภค
  2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเฝ้าระวัง แจ้งเตือนภัย และสามารถตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพด้วยชุดทดสอบขั้นพื้นฐานในชุมชนได้
  3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมตรวจสอบ และเฝ้าระวังให้ประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยในด้านงานคุ้มครองผู้บริโภค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. ฝึกปฎิบัติงานทดสอบผลิตภัณฑ์ในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น เพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพในงานคุ้มครองผู้บริโภค
  2. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเฝ้าระวังเครื่องสำอาง ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ในชุมชนด้วยชุดทดสอบขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง และสามารถแจ้งเตือนชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  3. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเฝ้าระวังอาหาร ทดสอบความปลอดภัยในชุมชนด้วยชุดทดสอบขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง และสามารถแจ้งเตือนชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 14 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น เพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพในงานคุ้มครองผู้บริโภค
  2. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเฝ้าระวังเครื่องสำอาง ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ในชุมชนด้วยชุดทดสอบขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง และสามารถแจ้งเตือนชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  3. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเฝ้าระวังอาหาร ทดสอบความปลอดภัยในชุมชนด้วยชุดทดสอบขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง และสามารถแจ้งเตือนชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

 

70 0

2. ฝึกปฎิบัติงานทดสอบผลิตภัณฑ์ในชุมชน

วันที่ 14 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกปฎิบัติงานทดสอบผลิตภัณฑ์ในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น เพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพในงานคุ้มครองผู้บริโภค
  2. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเฝ้าระวังเครื่องสำอาง ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ในชุมชนด้วยชุดทดสอบขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง และสามารถแจ้งเตือนชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  3. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเฝ้าระวังอาหาร ทดสอบความปลอดภัยในชุมชนด้วยชุดทดสอบขั้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง และสามารถแจ้งเตือนชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. กิจกรรมการอบรมเชิงปฎิบัติการ ผู้เข้าร่วมอบรม ผ่านการทำแบบสอบความรู้ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 90 ผู้เข้ารับการอบรมเชิงปฎิบัติการ จำนวน 73 คน จากเป้าหมาย 70 คน คิดเป็นผลงานร้อยละ 100 และผ่านการทดสอบความรู้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 67 คน คิดเป็น ร้อยละ 91.78
  2. การฝึกปฎิบัติงานทดสอบผลิตภัณฑ์ ในชุมชน ผู้รับการฝึกปฎิบัติงาน จำนวน 73 คน จำนวน 4 กลุ่ม จำนวนสิ่งตัวอย่าง เครื่องสำอาง จำนวน 11 ตัวอย่าง อาหาร 14 ตัวอย่าง ยาสมุนไพร 4 ตัวอย่าง น้ำแข็ง 2 ตัวอย่าง จำนวน ทั้งสิ้น 31 ตัวอย่าง ตรวจและแปลผลได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 100
  3. ความเป็นศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่ 12 /1 ตรัง ได้รับเงินเป็นหน่วยงานสนับสนุนสำหรับการดำเนินงาน และมาตรฐานทาง วิชาการ และการดำเนินงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง แต่เนื่องจากข้อกำจัดการดำเนินงาน ซึ่งต้องอาศัยพื้นที่เฉพาะ และครุภัณฑ์ประกอบกิจกรรม ทำให้ยังไม่สามารถจัดตั้งได้อย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และเพิ่มศักยภาพในงานคุ้มครองผู้บริโภค
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้ารับการอบรมผ่านการทดสอบความรู้ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ90
100.00

ผ่านการทดสอบความรู้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 67 คน คิดเป็น ร้อยละ 91.78

2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเฝ้าระวัง แจ้งเตือนภัย และสามารถตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพด้วยชุดทดสอบขั้นพื้นฐานในชุมชนได้
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้ารับการอบรมผ่านการทดสอบความสามารถในการทดสอบสิ่งตัวอย่างเบื้องต้น ร้อยละ90 2. ผู้เข้ารับการอบรมความสามารถรายงานผลการเฝ้าระวัง และผลการทดสอบต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ (3 เดือนครั้ง)
100.00

การฝึกปฎิบัติงานทดสอบผลิตภัณฑ์ ในชุมชน ผู้รับการฝึกปฎิบัติงาน จำนวน 73 คน จำนวน 4 กลุ่ม จำนวนสิ่งตัวอย่าง เครื่องสำอาง จำนวน 11 ตัวอย่าง อาหาร 14 ตัวอย่าง ยาสมุนไพร 4 ตัวอย่าง น้ำแข็ง 2 ตัวอย่าง จำนวน ทั้งสิ้น 31 ตัวอย่าง ตรวจและแปลผลได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 100

3 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมตรวจสอบ และเฝ้าระวังให้ประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยในด้านงานคุ้มครองผู้บริโภค
ตัวชี้วัด : 1. มีการจัดตั้งศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน จำนวน 1 ศูนย์
100.00

ความเป็นศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่ 12 /1 ตรัง ได้รับเงินเป็นหน่วยงานสนับสนุนสำหรับการดำเนินงาน และมาตรฐานทาง วิชาการ และการดำเนินงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง แต่เนื่องจากข้อกำจัดการดำเนินงาน ซึ่งต้องอาศัยพื้นที่เฉพาะ และครุภัณฑ์ประกอบกิจกรรม ทำให้ยังไม่สามารถจัดตั้งได้อย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

(1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และเพิ่มศักยภาพในงานคุ้มครองผู้บริโภค

2) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเฝ้าระวัง แจ้งเตือนภัย และสามารถตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพด้วยชุดทดสอบขั้นพื้นฐานในชุมชนได้

(3) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมตรวจสอบ และเฝ้าระวังให้ประชาชนในพื้นที่มีความปลอดภัยในด้านงานคุ้มครองผู้บริโภค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

1.กิจกรรมการอบรมเชิงปฎิบัติการ ผู้เข้าร่วมอบรม ผ่านการทำแบบสอบความรู้ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 90 ผู้เข้ารับการอบรมเชิงปฎิบัติการ จำนวน 93 คน จากเป้าหมาย 70 คน คิดเป็นผลงานร้อยละ 100 และผ่านการทดสอบความรู้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 67 คน คิดเป็น ร้อยละ 91.78

2.การฝึกปฎิบัติงานทดสอบผลิตภัณฑ์ ในชุมชน ผู้รับการฝึกปฎิบัติงาน จำนวน 73 คน จำนวน 4 กลุ่ม จำนวนสิ่งตัวอย่าง เครื่องสำอาง จำนวน 11 ตัวอย่าง อาหาร 14 ตัวอย่าง ยาสมุนไพร 4 ตัวอย่าง น้ำแข็ง 2 ตัวอย่าง จำนวน ทั้งสิ้น 31 ตัวอย่าง ตรวจและแปลผลได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 100

3.ความเป็นศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่ 12 /1 ตรัง ได้รับเงินเป็นหน่วยงานสนับสนุนสำหรับการดำเนินงาน และมาตรฐานทาง วิชาการ และการดำเนินงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง แต่เนื่องจากข้อกำจัดการดำเนินงาน ซึ่งต้องอาศัยพื้นที่เฉพาะ และครุภัณฑ์ประกอบกิจกรรม ทำให้ยังไม่สามารถจัดตั้งได้อย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน  ไม่มี

ข้อเสนอแนะ  ไม่มี

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

ไม่มี

ไม่มี

ไม่มี


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาการดำเนินงานแก้ไขปัญหาด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2561

รหัสโครงการ 61-L5282-1-02 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการพัฒนาการดำเนินงานแก้ไขปัญหาด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5282-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางผุสร์สวดี ศิริหิงค์โค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด