กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
ประชุมติดตาม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ครั้งที่ 1และ 22 มิถุนายน 2566
2
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลทุ่งพลา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • นัดทำกิจกรรมกลุ่มต่อเนื่อง ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็น ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง  และให้ความรู้เพิ่มเติมในการปฏิบัติตัว
  • ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการโดย อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข  ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทุก 2 เดือน ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์
  • ติดตามการวัดความดัน (Home BP) ตรวจเจาะน้ำตาลที่บ้าน โดย อสม.โดยติดตามทุก 2 และ 4 เดือน และในรายที่สงสัยเป็นโรค ต้องส่งพบแพทย์ ทุกราย
  • ติดตามผลการรักษาภายหลังการส่งต่อ
  • สรุปและประเมินโครงการเมื่อสิ้นโครงการ
  1. ประเมินผลการดำเนินงาน
  2. ตามแผนงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งพลาทราบต่อไป
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรู้สภาวะสุขภาพของตนเอง
  2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลตนเองครอบครัวและชุมชนตามหลัก 3 อ. 2 ส.มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับการติดตาม ดูแลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  3. ประชาชนกลุ่มที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการดูแลและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องทำให้ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายทั้งภาครัฐและประชาชน 4.จำนวนผู้ป่วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและภาวะอ้วนลงพุง ในชุมชนลดลง
ค่าใช้จ่ายในการตรวจคัดกรอง (ค่าเครื่องเจาะน้ำตาลในเลือด 7 เครื่อง ๆ ละ 1200 และค่าถ่ายเอกสารแบบคัดกรอง 2000 ชุด)12 พฤษภาคม 2566
12
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลทุ่งพลา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการโดย อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข  ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทุก 2 เดือน ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์
  • ติดตามการวัดความดัน (Home BP) ตรวจเจาะน้ำตาลที่บ้าน โดย อสม.โดยติดตามทุก 2 และ 4 เดือน และในรายที่สงสัยเป็นโรค ต้องส่งพบแพทย์ ทุกราย
  • ติดตามผลการรักษาภายหลังการส่งต่อ
  • สรุปและประเมินโครงการเมื่อสิ้นโครงการ
  • ประเมินผลการดำเนินงาน
  • ตามแผนงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งพลาทราบต่อไป
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรู้สภาวะสุขภาพของตนเอง
  2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลตนเองครอบครัวและชุมชนตามหลัก 3 อ. 2 ส.มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับการติดตาม ดูแลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  3. ประชาชนกลุ่มที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการดูแลและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องทำให้ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายทั้งภาครัฐและประชาชน 4.จำนวนผู้ป่วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและภาวะอ้วนลงพุง ในชุมชนลดลง
ค่าใช้จ่ายในการตรวจคัดกรอง (ค่าเครื่องเจาะน้ำตาลในเลือด 7 เครื่อง ๆ ละ 1200 และค่าถ่ายเอกสารแบบคัดกรอง 2000 ชุด)12 พฤษภาคม 2566
12
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลทุ่งพลา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการโดย อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข  ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทุก 2 เดือน ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์
  • ติดตามการวัดความดัน (Home BP) ตรวจเจาะน้ำตาลที่บ้าน โดย อสม.โดยติดตามทุก 2 และ 4 เดือน และในรายที่สงสัยเป็นโรค ต้องส่งพบแพทย์ ทุกราย
  • ติดตามผลการรักษาภายหลังการส่งต่อ
  • สรุปและประเมินโครงการเมื่อสิ้นโครงการ
  • ประเมินผลการดำเนินงาน
  • ตามแผนงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งพลาทราบต่อไป
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรู้สภาวะสุขภาพของตนเอง
  2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลตนเองครอบครัวและชุมชนตามหลัก 3 อ. 2 ส.มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับการติดตาม ดูแลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  3. ประชาชนกลุ่มที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการดูแลและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องทำให้ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายทั้งภาครัฐและประชาชน 4.จำนวนผู้ป่วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและภาวะอ้วนลงพุง ในชุมชนลดลง
อบมรมเชิงปฎิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง4 เมษายน 2566
4
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลทุ่งพลา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ขั้นเตรียมการ

- สำรวจประชากรกลุ่มเป้าหมาย - ประชุมและอบรมเตรียมความพร้อมคณะทำงาน - ประชาสัมพันธ์โครงการอย่างต่อเนื่องให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายรับรู้ - แจ้งแผนการดำเนินการรณรงค์ตรวจคัดกรอง ความดัน เบาหวานแก่ อสม.ในพื้นที่รับผิดชอบ 2. ขั้นดำเนินการ           - ประชุมชี้แจง อสม.ในการคัดกรอง และทบทวนความรู้ในการตรวจวัดความดัน และการเจาะเลือดเพื่อหาค่าน้ำตาล และการแปรผล ในแต่ละกลุ่ม - ดำเนินการให้บริการตรวจคัดกรองตามแผนงาน - สรุปผลการคัดกรองแยกกลุ่มผู้ที่พบภาวะเสี่ยงเพื่อเข้าสู่กระบวนการให้คำปรึกษา -รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการและคัดเลือก จำนวน 100 คน และจัดอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ดังนี้
-จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย 3 อ. 2 ส. โดยจัดเป็นกลุ่มสนทนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติตน  ประสบการณ์  เสริมพลังพฤติกรรมสุขภาพให้กับกลุ่มเป้าหมายซึ่งจะนำมาสู่ความเชื่อและการปฏิบัติที่ถูกต้องเพื่อส่งเสริมความสามารถในการดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชน และทำแบบทดสอบความรู้และทัศนคติก่อนและหลังการอบรม ให้ความรู้ในหัวข้อเรื่อง - ความรู้เรื่อง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะอ้วนลงพุง - อาหารเพื่อสุขภาพ - การออกกำลังกาย - นัดทำกิจกรรมกลุ่มต่อเนื่อง ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็น ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง  และให้ความรู้เพิ่มเติมในการปฏิบัติตัว
- ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการโดย อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข  ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทุก 2 เดือน ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ - ติดตามการวัดความดัน (Home BP) ตรวจเจาะน้ำตาลที่บ้าน โดย อสม.โดยติดตามทุก 2 และ 4 เดือน และในรายที่สงสัยเป็นโรค ต้องส่งพบแพทย์ ทุกราย - ติดตามผลการรักษาภายหลังการส่งต่อ - สรุปและประเมินโครงการเมื่อสิ้นโครงการ 3. ประเมินผลการดำเนินงาน 4. ตามแผนงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งพลาทราบต่อไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรู้สภาวะสุขภาพของตนเอง
  2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลตนเองครอบครัวและชุมชนตามหลัก 3 อ. 2 ส.มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับการติดตาม ดูแลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  3. ประชาชนกลุ่มที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการดูแลและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องทำให้ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายทั้งภาครัฐและประชาชน 4.จำนวนผู้ป่วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและภาวะอ้วนลงพุง ในชุมชนลดลง
อบมรมเชิงปฎิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง4 เมษายน 2566
4
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลทุ่งพลา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ขั้นเตรียมการ

- สำรวจประชากรกลุ่มเป้าหมาย - ประชุมและอบรมเตรียมความพร้อมคณะทำงาน - ประชาสัมพันธ์โครงการอย่างต่อเนื่องให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายรับรู้ - แจ้งแผนการดำเนินการรณรงค์ตรวจคัดกรอง ความดัน เบาหวานแก่ อสม.ในพื้นที่รับผิดชอบ 2. ขั้นดำเนินการ           - ประชุมชี้แจง อสม.ในการคัดกรอง และทบทวนความรู้ในการตรวจวัดความดัน และการเจาะเลือดเพื่อหาค่าน้ำตาล และการแปรผล ในแต่ละกลุ่ม - ดำเนินการให้บริการตรวจคัดกรองตามแผนงาน - สรุปผลการคัดกรองแยกกลุ่มผู้ที่พบภาวะเสี่ยงเพื่อเข้าสู่กระบวนการให้คำปรึกษา -รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการและคัดเลือก จำนวน 100 คน และจัดอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ดังนี้
-จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย 3 อ. 2 ส. โดยจัดเป็นกลุ่มสนทนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทัศนคติ การปฏิบัติตน  ประสบการณ์  เสริมพลังพฤติกรรมสุขภาพให้กับกลุ่มเป้าหมายซึ่งจะนำมาสู่ความเชื่อและการปฏิบัติที่ถูกต้องเพื่อส่งเสริมความสามารถในการดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชน และทำแบบทดสอบความรู้และทัศนคติก่อนและหลังการอบรม ให้ความรู้ในหัวข้อเรื่อง - ความรู้เรื่อง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะอ้วนลงพุง - อาหารเพื่อสุขภาพ - การออกกำลังกาย - นัดทำกิจกรรมกลุ่มต่อเนื่อง ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็น ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง  และให้ความรู้เพิ่มเติมในการปฏิบัติตัว
- ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการโดย อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข  ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทุก 2 เดือน ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองให้เหมาะสม เรื่องอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ - ติดตามการวัดความดัน (Home BP) ตรวจเจาะน้ำตาลที่บ้าน โดย อสม.โดยติดตามทุก 2 และ 4 เดือน และในรายที่สงสัยเป็นโรค ต้องส่งพบแพทย์ ทุกราย - ติดตามผลการรักษาภายหลังการส่งต่อ - สรุปและประเมินโครงการเมื่อสิ้นโครงการ 3. ประเมินผลการดำเนินงาน 4. ตามแผนงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งพลาทราบต่อไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการตรวจคัดกรองเบื้องต้นและรู้สภาวะสุขภาพของตนเอง
  2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลตนเองครอบครัวและชุมชนตามหลัก 3 อ. 2 ส.มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับการติดตาม ดูแลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  3. ประชาชนกลุ่มที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการดูแลและส่งต่อเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้องทำให้ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายทั้งภาครัฐและประชาชน 4.จำนวนผู้ป่วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและภาวะอ้วนลงพุง ในชุมชนลดลง