กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กและหญิงตั้งครรภ์ ปี 2566 ”

ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางนิเด๊าะ อิแตแล

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กและหญิงตั้งครรภ์ ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4147-02-03 เลขที่ข้อตกลง 66-L4147-02-03

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กและหญิงตั้งครรภ์ ปี 2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กและหญิงตั้งครรภ์ ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กและหญิงตั้งครรภ์ ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4147-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงยซิแน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 60 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าได้นั้น ขึ้นอยู่กับคุณภาพชีวิตของประชาชน ซึ่งต้องมีสุขภาพที่สมบูรณ์และแข็งแรง งานอนามัยแม่และเด็กเป็นองค์ประกอบและเป็นพื้นฐานที่สำคัญของการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก เพื่อให้ประชากรมีคุณภาพดีได้ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาและมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย ด้วยการสนับสนุนบริการดูแลก่อนคลอด การทำคลอด การดูแลมารดาและทารกหลังคลอด
จากการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา ปี 2562 พบว่าหญิงมีครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 81.94 (เป้าหมาย ร้อยละ 75) ดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 61.97 (ร้อยละ60) อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางใกล้คลอดไม่เกินร้อยละ 10 ได้ร้อยละ 35.71 การดูแลมารดาและทารกหลังคลอด พบว่าร้อยละ 76.92 (เป้าหมาย ร้อยละ 65) อัตราทารกตายปริกำเนิด ไม่เกิน 9 ต่อพันการเกิดมีชีพ จำนวนทารกเกิดมีชีพ มีน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 5.00 (ไม่เกินร้อยละ 7) ซึ่งยังมีตัวชี้วัดยังต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการฝากครรภ์ไม่ต่อเนื่อง ฝากครรภ์ช้า การบริโภคอาหารในหญิงมีครรภ์การทานยาบำรุงเลือดที่ไม่ต่อเนื่อง มารดาขณะตั้งครรภ์ และหลังคลอด มีพฤติกรรมการดูแลตนเองและการดูแลบุตร ยังไม่ถูกต้องเท่าที่ควร
ดังนั้น การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน จะต้องเน้นถึงการส่งเสริมสุขภาพของแม่และเด็ก นธ์ุในทุก ๆ ด้านโดยเฉพาะการเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ เพื่อให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในทางที่ดีแก่หญิงวัยเจริญพั หญิงมีครรภ์ และหญิงดูแลบุตร เพื่อที่จะนำความรู้ไปปฏิบัติ และถ่ายทอดไปยังผู้อื่นได้
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลบาโงยซิแน ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงยซิแน อำเภอยะหา จังหวัดยะลา ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก เพื่อลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยปี 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ เพิ่มขึ้น
  2. ร้อยละของหญิงฝากครรภ์ ที่สามารถฝากครรภ์ครบ5 ครั้งเพิ่มขึ้น
  3. ร้อยละของหญิงคลอด ที่ได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอดเพิ่มขึ้น
  4. ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า2,500 ไม่เกินร้อยละ 7
  5. อัตราทารกตายปริกำเนิดไม่เกิน9 ต่อพันการเกิดทั้งหมด
  6. หญิงมีครรภ์มีภาวะซีด HCT ต่ำกว่า33ไม่เกินร้อยละ 10

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์
  2. การอบรมเชิงปฏิบัติการ เสวนากลุ่ม
  3. การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวัง และติดตามหญิงมีครรภ์และหลังคลอด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

หญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงมีครรภ์ และมารดาหลังคลอด มีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพ ด้านส่งเสริมสุขภาพ
สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลตนเองและบุตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนำความรู้ ไปถ่ายทอด และเป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่นได้ ส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 ร้อยละของหญิงฝากครรภ์ ที่สามารถฝากครรภ์ครบ5 ครั้งเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด :

 

3 ร้อยละของหญิงคลอด ที่ได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอดเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด :

 

4 ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า2,500 ไม่เกินร้อยละ 7
ตัวชี้วัด :

 

5 อัตราทารกตายปริกำเนิดไม่เกิน9 ต่อพันการเกิดทั้งหมด
ตัวชี้วัด :

 

6 หญิงมีครรภ์มีภาวะซีด HCT ต่ำกว่า33ไม่เกินร้อยละ 10
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ เพิ่มขึ้น (2) ร้อยละของหญิงฝากครรภ์ ที่สามารถฝากครรภ์ครบ5 ครั้งเพิ่มขึ้น (3) ร้อยละของหญิงคลอด ที่ได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอดเพิ่มขึ้น (4) ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า2,500 ไม่เกินร้อยละ 7 (5) อัตราทารกตายปริกำเนิดไม่เกิน9 ต่อพันการเกิดทั้งหมด (6) หญิงมีครรภ์มีภาวะซีด HCT ต่ำกว่า33ไม่เกินร้อยละ 10

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ (2) การอบรมเชิงปฏิบัติการ เสวนากลุ่ม (3) การเยี่ยมดูแล เฝ้าระวัง และติดตามหญิงมีครรภ์และหลังคลอด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กและหญิงตั้งครรภ์ ปี 2566 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4147-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนิเด๊าะ อิแตแล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด