โครงการอบรมเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ”
ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวแมะซง ดอเล๊าะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2476-02-033 เลขที่ข้อตกลง 027/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2476-02-033 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กและเยาวชน คืออนาคตของชาติ ประเทศไทยพบว่ามีเด็กและเยาวชน จำนวนไม่น้อยที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งเกิดจากความตั้งใจ และเกิดความตั้งใจ ทั้งเกิดจากความตั้งใจ และเกิดจากการหลงผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อีกทั้งยังมีปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ที่จะทำให้เด็กและเยาวชนมีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นอีก เช่น เด็กและเยาวชน เป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ การสร้างการยอมรับ กล้าทำในสิ่งที่ท้าทาย การชักจูงและการหลอกลวง เป็นต้น เด็กและเยาวชนจำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเพียงพอ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและการรู้โทษที่ร้ายแรงของสิ่งเสพติดอย่างเหมะสม การรู้จักการหลีกเลี่ยงสิ่งเสพติดและสิ่งสำคัญคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชน โดยผนึกกำลังทุกภาคส่วน ให้ร่วมคิดร่วมทำร่วมรับผิดชอบ และร่วมแรงร่วมใจเป็นพลังของแผ่นดิน ที่จะต่อสู้เพื่อเอาชนะปัญหายาเสพติดและที่ผ่านมาการปราบปรามหือเพิ่มโทษไม่ได้ทำให้ปัญหายาเสพติดหมดไป เพราะจกการสำรวจจำนวนผู้เสพยาเสพติดในประเทศไทยกลับมีจำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ นั้นแสดงว่าการปราบปรามอย่างเดียวไม่เพียงพจำเป็นต้องมีนโยบายด้านอื่นมาสนับสนุนด้วยการดึงพลังของทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมกันทำงานแบบบูรณาการก็เป็นอีกวิธีทางหนึ่งที่จะช่วยแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนได้เป็นอย่างดี
ปัจจุบันสถานการณ์ปัญหายาเสพติดในเขตพื้นที่ตำบลดุซงญอ มรการแพร่ระบาดอย่างรุนแรง จาการสำรวจพบว่ามีการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ติดและผู้เสพยาเสพติดมากขึ้นจากเดิม ที่ผู้เสพส่วนใหญ่จะอยู่ในช่วงของวัยรุ่นและวัยทำงาน แต่ปัจจุบันพบว่ามีการเพิ่มขึ้นของผู้เสพที่อยู่ในนักเรียนระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา จึงเห็นได้ว่าปัญหายาเสพติดได้มีการแพร่ระบาดมากขึ้นและหนักขึ้นเป็นทวีคูณ มีจำนวนผู้เสี่ยงที่มีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึึ้น
ชมรมจิตอาสาเมืองดาหลา จึงได้จัดโครงการอบรมเด็กและเยาวชนรุ่มนใหม่ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ 2566 ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมกิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหายบาเสพติดให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม และเพื่อเป็นการสร้างเครือข่ายนำเด็กและเยาวชนในพื้นที่ให้มีภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพิ่อป้องกันไม่ให้เด็กและเยาวชนเสพยาเสพติดเพิ่มขึ้น ที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี (คน)
- เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้เด็กและเยาวชนได้มีภูมิคุ้มกันด้านป้องกันและห่างไกลภัยยาเสพติด
- เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชนในตำบลดุซงญอ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรม ให้ความรู้ โดยวิธีการบรรยาย หัวข้อเรื่อง เกี่ยวกับยาเสพติดในยุคปัจจุบันและโทษภัยของยาเสพติด (วันที่ 1)
- กิจกรรม ให้ความรู้โดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม จำนวน 5 กลุ่ม ๆ ละ 10 คน (วันที่ 2)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้รับการอบรมได้มีความรู้เกี่ยวกับโทษ พิษภัย ยาเสพติด รวมถึงกฏหมายและบทลงโทษที่เกี่ยวกับยาเสพติด
- ผู้เข้ารับการอบรมเกิดความตระหนักถึงโทษ พิษภยยาเสพติด รวมทั้งสามารถปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤ๖ิกรรมให้ก่างไกลจากยาเสพติดได้
- เด็กและเยาวชนและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรม ให้ความรู้ โดยวิธีการบรรยาย หัวข้อเรื่อง เกี่ยวกับยาเสพติดในยุคปัจจุบันและโทษภัยของยาเสพติด (วันที่ 1)
วันที่ 3 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรม อบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน ในตำบลดุซงญอ โดยวิธีการบรรยาย เรื่อง ชนิด ประเภท และโทษของยาเสพติด และ หลักการศานาในการแก้ไขปัญกายาเสพติด และบุญคุณของพ่อแม่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กและเยาวชนตำบลดุซงญอ มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องยาเสพติดและผลกระทบที่เกิดจากยาเสพติดมากขึ้น
0
0
2. กิจกรรม ให้ความรู้โดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม จำนวน 5 กลุ่ม ๆ ละ 10 คน (วันที่ 2)
วันที่ 4 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม กลุ่มละ 10 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้ารับการอบรมเกิความตระหนักถึงโทษ พิษภัยยาเสพติิด รวมทั้งสามารถปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพิ่อป้องกันไม่ให้เด็กและเยาวชนเสพยาเสพติดเพิ่มขึ้น ที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี (คน)
ตัวชี้วัด :
50.00
50.00
2
เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้เด็กและเยาวชนได้มีภูมิคุ้มกันด้านป้องกันและห่างไกลภัยยาเสพติด
ตัวชี้วัด :
50.00
50.00
3
เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชนในตำบลดุซงญอ
ตัวชี้วัด :
50.00
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
50
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่อป้องกันไม่ให้เด็กและเยาวชนเสพยาเสพติดเพิ่มขึ้น ที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี (คน) (2) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้เด็กและเยาวชนได้มีภูมิคุ้มกันด้านป้องกันและห่างไกลภัยยาเสพติด (3) เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชนในตำบลดุซงญอ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม ให้ความรู้ โดยวิธีการบรรยาย หัวข้อเรื่อง เกี่ยวกับยาเสพติดในยุคปัจจุบันและโทษภัยของยาเสพติด (วันที่ 1) (2) กิจกรรม ให้ความรู้โดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม จำนวน 5 กลุ่ม ๆ ละ 10 คน (วันที่ 2)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2476-02-033
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวแมะซง ดอเล๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ”
ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวแมะซง ดอเล๊าะ
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2476-02-033 เลขที่ข้อตกลง 027/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2476-02-033 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กและเยาวชน คืออนาคตของชาติ ประเทศไทยพบว่ามีเด็กและเยาวชน จำนวนไม่น้อยที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งเกิดจากความตั้งใจ และเกิดความตั้งใจ ทั้งเกิดจากความตั้งใจ และเกิดจากการหลงผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อีกทั้งยังมีปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ที่จะทำให้เด็กและเยาวชนมีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นอีก เช่น เด็กและเยาวชน เป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ การสร้างการยอมรับ กล้าทำในสิ่งที่ท้าทาย การชักจูงและการหลอกลวง เป็นต้น เด็กและเยาวชนจำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเพียงพอ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและการรู้โทษที่ร้ายแรงของสิ่งเสพติดอย่างเหมะสม การรู้จักการหลีกเลี่ยงสิ่งเสพติดและสิ่งสำคัญคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชน โดยผนึกกำลังทุกภาคส่วน ให้ร่วมคิดร่วมทำร่วมรับผิดชอบ และร่วมแรงร่วมใจเป็นพลังของแผ่นดิน ที่จะต่อสู้เพื่อเอาชนะปัญหายาเสพติดและที่ผ่านมาการปราบปรามหือเพิ่มโทษไม่ได้ทำให้ปัญหายาเสพติดหมดไป เพราะจกการสำรวจจำนวนผู้เสพยาเสพติดในประเทศไทยกลับมีจำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ นั้นแสดงว่าการปราบปรามอย่างเดียวไม่เพียงพจำเป็นต้องมีนโยบายด้านอื่นมาสนับสนุนด้วยการดึงพลังของทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมกันทำงานแบบบูรณาการก็เป็นอีกวิธีทางหนึ่งที่จะช่วยแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนได้เป็นอย่างดี
ปัจจุบันสถานการณ์ปัญหายาเสพติดในเขตพื้นที่ตำบลดุซงญอ มรการแพร่ระบาดอย่างรุนแรง จาการสำรวจพบว่ามีการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้ติดและผู้เสพยาเสพติดมากขึ้นจากเดิม ที่ผู้เสพส่วนใหญ่จะอยู่ในช่วงของวัยรุ่นและวัยทำงาน แต่ปัจจุบันพบว่ามีการเพิ่มขึ้นของผู้เสพที่อยู่ในนักเรียนระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา จึงเห็นได้ว่าปัญหายาเสพติดได้มีการแพร่ระบาดมากขึ้นและหนักขึ้นเป็นทวีคูณ มีจำนวนผู้เสี่ยงที่มีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึึ้น
ชมรมจิตอาสาเมืองดาหลา จึงได้จัดโครงการอบรมเด็กและเยาวชนรุ่มนใหม่ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ 2566 ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมกิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหายบาเสพติดให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม และเพื่อเป็นการสร้างเครือข่ายนำเด็กและเยาวชนในพื้นที่ให้มีภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพิ่อป้องกันไม่ให้เด็กและเยาวชนเสพยาเสพติดเพิ่มขึ้น ที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี (คน)
- เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้เด็กและเยาวชนได้มีภูมิคุ้มกันด้านป้องกันและห่างไกลภัยยาเสพติด
- เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชนในตำบลดุซงญอ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรม ให้ความรู้ โดยวิธีการบรรยาย หัวข้อเรื่อง เกี่ยวกับยาเสพติดในยุคปัจจุบันและโทษภัยของยาเสพติด (วันที่ 1)
- กิจกรรม ให้ความรู้โดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม จำนวน 5 กลุ่ม ๆ ละ 10 คน (วันที่ 2)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้รับการอบรมได้มีความรู้เกี่ยวกับโทษ พิษภัย ยาเสพติด รวมถึงกฏหมายและบทลงโทษที่เกี่ยวกับยาเสพติด
- ผู้เข้ารับการอบรมเกิดความตระหนักถึงโทษ พิษภยยาเสพติด รวมทั้งสามารถปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤ๖ิกรรมให้ก่างไกลจากยาเสพติดได้
- เด็กและเยาวชนและคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรม ให้ความรู้ โดยวิธีการบรรยาย หัวข้อเรื่อง เกี่ยวกับยาเสพติดในยุคปัจจุบันและโทษภัยของยาเสพติด (วันที่ 1) |
||
วันที่ 3 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรม อบรมให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชน ในตำบลดุซงญอ โดยวิธีการบรรยาย เรื่อง ชนิด ประเภท และโทษของยาเสพติด และ หลักการศานาในการแก้ไขปัญกายาเสพติด และบุญคุณของพ่อแม่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กและเยาวชนตำบลดุซงญอ มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องยาเสพติดและผลกระทบที่เกิดจากยาเสพติดมากขึ้น
|
0 | 0 |
2. กิจกรรม ให้ความรู้โดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม จำนวน 5 กลุ่ม ๆ ละ 10 คน (วันที่ 2) |
||
วันที่ 4 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม กลุ่มละ 10 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้ารับการอบรมเกิความตระหนักถึงโทษ พิษภัยยาเสพติิด รวมทั้งสามารถปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมให้ห่างไกลจากยาเสพติดได้
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพิ่อป้องกันไม่ให้เด็กและเยาวชนเสพยาเสพติดเพิ่มขึ้น ที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี (คน) ตัวชี้วัด : |
50.00 | 50.00 |
|
|
2 | เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้เด็กและเยาวชนได้มีภูมิคุ้มกันด้านป้องกันและห่างไกลภัยยาเสพติด ตัวชี้วัด : |
50.00 | 50.00 |
|
|
3 | เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชนในตำบลดุซงญอ ตัวชี้วัด : |
50.00 | 50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่อป้องกันไม่ให้เด็กและเยาวชนเสพยาเสพติดเพิ่มขึ้น ที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี (คน) (2) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้เด็กและเยาวชนได้มีภูมิคุ้มกันด้านป้องกันและห่างไกลภัยยาเสพติด (3) เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดแก่เด็กและเยาวชนในตำบลดุซงญอ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม ให้ความรู้ โดยวิธีการบรรยาย หัวข้อเรื่อง เกี่ยวกับยาเสพติดในยุคปัจจุบันและโทษภัยของยาเสพติด (วันที่ 1) (2) กิจกรรม ให้ความรู้โดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม จำนวน 5 กลุ่ม ๆ ละ 10 คน (วันที่ 2)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ ร่วมใจต้านภัยยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2476-02-033
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวแมะซง ดอเล๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......