กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

(1) เพื่อตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรที่มีผลต่อสุขภาพ

(2) เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของเกษตรกร

(3) เพื่อให้เกษตรกรเกิดความรุ้และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ในพื้นที่ ตำบลอุใดเจริญมีผู้เข้ารับการคัดกรองหาระดับเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสในโลหิต จำนวน 1059 ราย จากกลุ่มเป้าหมายกำหนดทั้งสิ้น 1000 คน คิดเป็นร้อยละ 100 เกินกว่าจำนวนเป้าหมายที่กำหนดไว้ตามโครงการ มีผลการตรวจคัดกรองหาระดับเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสในโลหิต ปกติจำนวน 458 ราย คิดเป็นร้อยละ 43.25 ผลการคัดกรองปลอดภัยจำนวน 494 ราย คิดเป็นร้อยละ 46.65 ผลการคัดกรองมีความเสี่่ยง จำนวน 99 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.35 และมีผู้ที่มีผลการตรวจคัดกรองในระดับเป็นอันตรายหรือไใ่ปลอดภัย จำนวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.76

ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะในการดำเนินโครงการนี้

  1. การดำเนินโครงการประกอบด้วยกลุ่มเป้าหมายจำนวนมาก จำเป็นต้องใช้เวลาในการตรวจ และการดำเนินการเก็บสิ่งตัวอย่าง ทำให้ต้องพิจารณาขยายเวลาในการดำเนินโครงการ

  2. โครงการนี้อยู่ในความสนใจของประชาชนตำบลอุใดเจริญ ซึ่งอาจยังไม่สามารถเข้าบริการในลักษณะนี้ควรพิจารณาให้สนับสนุนหน่วยงานด้านสุขภาพในพื้นที่ดำเนินการในระยะยาว

  3. ระเบียบและวิธีปฎิบัติของทางราชการ ส่งผลให้มีความล่าช้า

  4. การอ่านค่าผลการตรวจมีข้อกำจัด สำหรับผุ้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ใช้ยา หรือเคมีรักาาอย่างต่อเนื่องและอาศัยทักาะในการใช้ชุดทดสอบสำหรับการแปลผลการตรวจ

  5. ผลการดำเนินโครงการนี้ มีกลุ่มเป้าหมายซึ่งจำเป็นต้องได้รับการติดตาม และตรวจซ้ำตลอดจนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะในการดำเนินโครงการนี้

  1. การดำเนินโครงการประกอบด้วยกลุ่มเป้าหมายจำนวนมาก จำเป็นต้องใช้เวลาในการตรวจ และการดำเนินการเก็บสิ่งตัวอย่าง ทำให้ต้องพิจารณาขยายเวลาในการดำเนินโครงการ

  2. โครงการนี้อยู่ในความสนใจของประชาชนตำบลอุใดเจริญ ซึ่งอาจยังไม่สามารถเข้าบริการในลักษณะนี้ควรพิจารณาให้สนับสนุนหน่วยงานด้านสุขภาพในพื้นที่ดำเนินการในระยะยาว

  3. ระเบียบและวิธีปฎิบัติของทางราชการ ส่งผลให้มีความล่าช้า

  4. การอ่านค่าผลการตรวจมีข้อกำจัด สำหรับผุ้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ใช้ยา หรือเคมีรักาาอย่างต่อเนื่องและอาศัยทักาะในการใช้ชุดทดสอบสำหรับการแปลผลการตรวจ

  5. ผลการดำเนินโครงการนี้ มีกลุ่มเป้าหมายซึ่งจำเป็นต้องได้รับการติดตาม และตรวจซ้ำตลอดจนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ