กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ในพื้นที่ ตำบลอุใดเจริญมีผู้เข้ารับการคัดกรองหาระดับเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสในโลหิต จำนวน 1059 ราย จากกลุ่มเป้าหมายกำหนดทั้งสิ้น 1000 คน คิดเป็นร้อยละ 100 เกินกว่าจำนวนเป้าหมายที่กำหนดไว้ตามโครงการ มีผลการตรวจคัดกรองหาระดับเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสในโลหิต ปกติจำนวน 458 ราย คิดเป็นร้อยละ 43.25 ผลการคัดกรองปลอดภัยจำนวน 494 ราย คิดเป็นร้อยละ 46.65 ผลการคัดกรองมีความเสี่่ยง จำนวน 99 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.35 และมีผู้ที่มีผลการตรวจคัดกรองในระดับเป็นอันตรายหรือไใ่ปลอดภัย จำนวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.76

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรที่มีผลต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรได้รับการตรวจหาระดับโคลีนเอสเทอเรสในเลือดอย่างน้อยร้อยละ 80
1,059.00

 

2 เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของเกษตรกร
ตัวชี้วัด : 1. เกษตรกรผู้ผา่นการตรวจฯทราบระดับความเสี่ยงต่อภาวะสารเคมีตกค้างใน เลือด ของตนเอง ร้อยละ 100 2. เกษตรกรผู้ผ่านการตรวจหาระดับโคลีนเอสเทอเรสในเลือด และมีความเสี่ยงได้รับความรู้และปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ร้อยละ 100
99.00

คิดเป็นร้อยละ 9.35

3 เพื่อให้เกษตรกรเกิดความรุ้และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1. การลดลงของระดับโคลีนเอสเทอเรสของผู้ที่มีความเสี่ยง
1,059.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

(1) เพื่อตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกรที่มีผลต่อสุขภาพ

(2) เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของเกษตรกร

(3) เพื่อให้เกษตรกรเกิดความรุ้และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ในพื้นที่ ตำบลอุใดเจริญมีผู้เข้ารับการคัดกรองหาระดับเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสในโลหิต จำนวน 1059 ราย จากกลุ่มเป้าหมายกำหนดทั้งสิ้น 1000 คน คิดเป็นร้อยละ 100 เกินกว่าจำนวนเป้าหมายที่กำหนดไว้ตามโครงการ มีผลการตรวจคัดกรองหาระดับเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสในโลหิต ปกติจำนวน 458 ราย คิดเป็นร้อยละ 43.25 ผลการคัดกรองปลอดภัยจำนวน 494 ราย คิดเป็นร้อยละ 46.65 ผลการคัดกรองมีความเสี่่ยง จำนวน 99 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.35 และมีผู้ที่มีผลการตรวจคัดกรองในระดับเป็นอันตรายหรือไใ่ปลอดภัย จำนวน 8 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.76

ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะในการดำเนินโครงการนี้

  1. การดำเนินโครงการประกอบด้วยกลุ่มเป้าหมายจำนวนมาก จำเป็นต้องใช้เวลาในการตรวจ และการดำเนินการเก็บสิ่งตัวอย่าง ทำให้ต้องพิจารณาขยายเวลาในการดำเนินโครงการ

  2. โครงการนี้อยู่ในความสนใจของประชาชนตำบลอุใดเจริญ ซึ่งอาจยังไม่สามารถเข้าบริการในลักษณะนี้ควรพิจารณาให้สนับสนุนหน่วยงานด้านสุขภาพในพื้นที่ดำเนินการในระยะยาว

  3. ระเบียบและวิธีปฎิบัติของทางราชการ ส่งผลให้มีความล่าช้า

  4. การอ่านค่าผลการตรวจมีข้อกำจัด สำหรับผุ้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ใช้ยา หรือเคมีรักาาอย่างต่อเนื่องและอาศัยทักาะในการใช้ชุดทดสอบสำหรับการแปลผลการตรวจ

  5. ผลการดำเนินโครงการนี้ มีกลุ่มเป้าหมายซึ่งจำเป็นต้องได้รับการติดตาม และตรวจซ้ำตลอดจนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh