กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์


“ โครงการส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็กแบบเชิงรุกเทศบาลเมืองคอหงส์ ประจำปี 2566 ”

ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวประภัสสร ศรีจันทร์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็กแบบเชิงรุกเทศบาลเมืองคอหงส์ ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L7257-1-04 เลขที่ข้อตกลง 6/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 15 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็กแบบเชิงรุกเทศบาลเมืองคอหงส์ ประจำปี 2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็กแบบเชิงรุกเทศบาลเมืองคอหงส์ ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็กแบบเชิงรุกเทศบาลเมืองคอหงส์ ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L7257-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2566 - 15 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 609,200.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานอนามัยแม่และเด็กในประเทศไทย ยังเป็นปัญหาที่ต้องช่วยกันแก้ไข ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลอนามัยแม่และเด็ก ของสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อสุขภาพของมารดาและเด็กอายุ 0-5 ปี ในหลายประเด็น ได้แก่ ปัญหาการขาดสารไอโอดีนและภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ร้อยละ 16.06 อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 6.14 (ไม่เกินร้อยละ 7) อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนร้อยละ 58.78 ปัญหาเหล่านี้คือเป็นปัญหาของงานแม่และเด็กที่ต้องช่วยแก้ไข ทารกที่จะเกิดมาอย่างมีสุขภาพแข็งแรง พร้อมเติบโตได้อย่างมีคุณภาพ ต้องเริ่มต้นจากแม่ที่มีสุขภาพดี หญิงตั้งครรภ์สุขภาพดี จะเพิ่มโอกาสที่ลูกจะเกิดมาอย่างสมบูรณ์ และลดความเสี่ยงการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ระหว่างการคลอด อันเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญของเด็ก อายุต่ำกว่า 1 ปี ในประเทศไทย การส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก เป็นการดูแลสุขภาพให้แก่มารดาและทารกเริ่มตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ หลังคลอด ระยะให้นมบุตรและการบริบาลทารกตั้งแต่แรกเกิดจนถึงก่อนวัยเรียน การดูแลสุขภาพแม่และเด็กให้มีคุณภาพ โดยเริ่มต้นตั้งแต่ตั้งครรภ์ต้องรู้จักการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อให้ทารกที่คลอดมีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม และจะต้องดูแลบุตรอย่างถูกต้อง เช่น การเลี้ยงดูทารกด้วยนมแม่ ส่งเสริมสายสัมพันธ์ระหว่างแม่และทารก ซึ่งเด็กที่ดื่มนมแม่จะมีค่าเฉลี่ยระดับเชาว์ปัญญา (IQ) ที่ดี ส่งผลต่อการพัฒนาการของเด็กให้สมวัย และฉลาดมากขึ้น การสนับสนุนให้แม่รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ส่งผลให้มีน้ำนมแม่เพียงพอที่จะเลี้ยงดูบุตร ตลอดจนการได้รับภูมิคุ้มกันโรคครบตามระยะเวลาที่เหมาะสม และประกอบกับนโยบายของจังหวัดสงขลาในการที่จะขับเคลื่อนโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด โดยมีการดำเนินการในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ สร้างความรู้ และตระหนักถึงอันตรายการคลอดก่อนกำหนดแก่หญิงตั้งครรภ์

งานส่งเสริมสุขภาพ ฝ่ายบริการสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของแม่และเด็กอันส่งผลให้เด็กเกิดมามีสุขภาพอนามัยสมบูรณ์และเติบโตไปเป็นประชากรที่มีคุณภาพของประเทศในอนาคต จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. หญิงตั้งครรภ์มีการฝากครรภ์ 12 สัปดาห์เพิ่มขึ้น
  2. หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้รับการติดตามดูแล โดยเยี่ยมหลังคลอดและได้รับคำแนะนำในการเลี้ยงดูบุตรด้วยนมแม่
  3. หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลทารก
  4. หญิงตั้งครรภ์ คลอดบุตรโดยบุตรมีชีวิต
  5. หญิงตั้งครรภ์คลอดบุตรโดยบุตรมีน้ำหนัก มากกว่า 2,500 กรัม
  6. หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 1 ครั้ง
  2. กิจกรรมมอบวัสดุในการส่งเสริมสุขภาพ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
  3. กิจกรรมอบรมแกนนำผู้ดูแลหญิงตั้งครรภ์และ หญิงหลังคลอด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์มีการฝากครรภ์ 12 สัปดาห์เพิ่มขึ้น
  2. หญิงหลังคลอดได้รับการติดตามดูแล โดยเยี่ยมหลังคลอดและได้รับคำแนะนำในการเลี้ยงดูบุตรด้วยนมแม่
  3. มารดาและผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลทารก
  4. หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลทารก
  5. หญิงตั้งครรภ์ คลอดบุตรโดยบุตรมีชีวิต และมีน้ำหนักบุตรมากกว่า 2,500 กรัม
  6. เด็กแรกคลอด - 1 ปี ได้รับการดูแลจาก อสม. อย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 หญิงตั้งครรภ์มีการฝากครรภ์ 12 สัปดาห์เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีการฝากครรภ์ ANC 12 สัปดาห์ จำนวน ร้อยละ 90
0.00 90.00

 

2 หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้รับการติดตามดูแล โดยเยี่ยมหลังคลอดและได้รับคำแนะนำในการเลี้ยงดูบุตรด้วยนมแม่
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้รับการติดตามดูแล โดยการเยี่ยมหลังคลอดและได้รับคำแนะนำในการเลี้ยงดูบุตรด้วยนมแม่ ร้อยละ 90
0.00 90.00

 

3 หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลทารก
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลทารก ร้อยละ 90
0.00 90.00

 

4 หญิงตั้งครรภ์ คลอดบุตรโดยบุตรมีชีวิต
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด คลอดบุตรโดยบุตรมีชีวิต ร้อยละ 90
0.00 90.00

 

5 หญิงตั้งครรภ์คลอดบุตรโดยบุตรมีน้ำหนัก มากกว่า 2,500 กรัม
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ คลอดบุตรโดยบุตรมีน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 95
0.00 95.00

 

6 หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ร้อยละ 100
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) หญิงตั้งครรภ์มีการฝากครรภ์ 12 สัปดาห์เพิ่มขึ้น (2) หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้รับการติดตามดูแล โดยเยี่ยมหลังคลอดและได้รับคำแนะนำในการเลี้ยงดูบุตรด้วยนมแม่ (3) หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลทารก (4) หญิงตั้งครรภ์ คลอดบุตรโดยบุตรมีชีวิต (5) หญิงตั้งครรภ์คลอดบุตรโดยบุตรมีน้ำหนัก มากกว่า 2,500 กรัม (6) หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 1 ครั้ง (2) กิจกรรมมอบวัสดุในการส่งเสริมสุขภาพ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด (3) กิจกรรมอบรมแกนนำผู้ดูแลหญิงตั้งครรภ์และ หญิงหลังคลอด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็กแบบเชิงรุกเทศบาลเมืองคอหงส์ ประจำปี 2566 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L7257-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวประภัสสร ศรีจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด