กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โละจูด


“ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบการในงานคุ้มครองผู้บริโภค ”

ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางจินตนาเลาะนะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบการในงานคุ้มครองผู้บริโภค

ที่อยู่ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-50114-1-26 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบการในงานคุ้มครองผู้บริโภค จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โละจูด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบการในงานคุ้มครองผู้บริโภค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบการในงานคุ้มครองผู้บริโภค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-50114-1-26 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โละจูด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สืบเนื่องจากรัฐบาลและกระทรวงสาธารณสุข ต้องการให้คนไทยได้บริโภคอาหาร,ใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอางที่ปลอดภัยจึงมีนโยบายให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขร่วมกับทุกส่วนราชการและภาคประชาชน ได้มีการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอางร่วมกัน โดยในส่วนเสาธารณสุขมีหน้าที่สุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร ออกตรวจผู้ผลิตและผู้จำหน่ายอาหารทั่งประเทศ เผยแพร่ ให้ความรู้แก่ประชาชน ผู้บริโภคทั่วไปและมีการขยายฐานการให้ความรู้เข้าไปในชุมชน ทั้งนี้เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบการได้รู้จักการเลือกซื้ออาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพและเครื่องสำอางที่ปลอดภัย ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโละจูดได้เล็งเห็นความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุชและผู้ประกอบการในงานคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อสร้างเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนให้มีคุณภาพที่ดีเป็นแบบอย่างที่ดีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่ดี ใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้องและอ่านฉลาดอาหาร ยา เครื่องสำอาง ก่อนใช้และสามารถเผยแพร่ข้อมูลความรู้ตลอดจนประชาสัมพันธ์โครงการได้อย่างทั่วถึง ซึ่งจะส่งผลต่อการรับรู้ของกลุ่มเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ จากการวิเคราห์ผลการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในปีที่ผ่านมา พบว่าอาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบการยังขาดทักษะในการตรวจสารปนเปื้อนและการจัดการกิจกรรมและการบูรณาการเน้นการมีส่วนร่วมในกิจกรรมพัฒนายังมีน้อย ทั้งนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโละจูดจึงดำเนินการจัดกิจกรรมในรูปแบบของการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อฝึกให้อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบการมีความรู้ในการตรวจสารปนเปื้อนและสามารถนำชุดทดสอบอย่างง่ายไปใช้ในการตรวจอาหารในร้านค้าชุมชนของตนเอง ซึ่งจะส่งผลให้โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบการในงานคุ้มครองผู้บริโภคมีความยั่งยืนมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้อาหารสดที่วางจำหน่ายปลอดภัยจากสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
  2. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบการมีความรู้ความเข้าใจและสามารถเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ประกอบการและครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคมีความรู้ ความเข้าใจในงานคุ้มครองผู้บริโภค
  2. มีเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน
  3. ประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลโละจูด มีร้านชำ ร้านอาหารและร้านแผงลอยที่ได้มาตรฐาน อาหารสะอาดและปลอดภัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบการ

วันที่ 25 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อบรมให้ความรู้ อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบการ

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้อาหารสดที่วางจำหน่ายปลอดภัยจากสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ผลการตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสด ผ่านร้อยละ 100

 

2 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบการมีความรู้ความเข้าใจและสามารถเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน
ตัวชี้วัด : แบบทดสอบความรู้หลังการอบรมผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 สุ่มตรวจวัตถุดิบที่นำมาปรุงแต่งอาหารในร้านว่ามาจากแหล่งที่น่าเชื่อถือได้

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อาหารสดที่วางจำหน่ายปลอดภัยจากสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (2) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบการมีความรู้ความเข้าใจและสามารถเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบการในงานคุ้มครองผู้บริโภค จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-50114-1-26

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจินตนาเลาะนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด