กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ 3 กลุ่มวันรักษ์ ฟ.ฟัน
รหัสโครงการ 66-L3017-01-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลปูยุด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
วันที่อนุมัติ 3 พฤศจิกายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 กุมภาพันธ์ 2566 - 30 มีนาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 เมษายน 2566
งบประมาณ 33,825.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางฮานาน มะยีแต
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มวัยทำงาน 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันความรุนแรงของโรคฟันผุรุนแรงขึ้นทุกปี พบได้เด็กไทย มีอัตราเด็กปราศจากฟันผุ น้อยมาก และพบปัญหาสุขภาพฟันในทุกกลุ่มวัย เนื่องจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้องเพราะผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กยังไม่เห็นความสำคัญใน เรื่องการดูแลอนามัยในช่องปาก ซึ่งปัญหานี้จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อเด็กในหลาย ๆ ด้านทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ และเศรษฐกิจ ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อการศึกษาของเด็กด้วยสุขภาพอนามัยที่ดี นอกจากนี้ปัญหา“ ทันตสุขภาพ” ในกลุ่มวัยอื่นๆยังส่งผลถึงปัญหาที่ตามมามากมาย อาทิเช่น ปัญหาโรคเหงือก ปัญหาการเสียวฟัน ปัญหาสุขภาพกาย ตลอดจน การนำพาไปสู่ภาวะทุพโภชนาการ ภาวะขาดสารอาหารในผู้ใหญ่ และหญิงตั้งครรภ์ ทั้งหมดเป็นผลกระทบ และส่วนหนึ่งของสุขภาพอนามัยการที่มีทันตสุขภาพที่ดีปราศจากโรคในช่องปากฟันทำหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์จะส่งผลให้มีสุขภาพอนามัยที่ดีด้วย การดูแลสุขภาพช่องปากการส่งเสริมให้ผู้ปกครอง และประชาชนมีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างสม่ำเสมอจึงมีความสำคัญ และสามารถลดปัญหาที่เกิดขึ้นตามมาภายหลังได้สถานการณ์ด้านสุขภาพช่องปาก ของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลปูยุด ในช่วง ๕ ปีที่ ผ่านมา พบว่าเด็กเป็นโรคฟันผุ ถึงร้อยละ ๘๙.๒ ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายของประเทศที่กำหนดให้ไม่เกินร้อยละ 50 และมีแนวโน้มว่าจะสูงขึ้นถ้าไม่ได้รับการดูแลรักษา ตั้งแต่เริ่มแรก ในขณะเดียวกัน ยังพบปัญหา ในกลุ่มวัยเจริญพันธ์ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ และวัยสูงอายุส่งผลให้เกิดโรคกรดไหลย้อน โรคระบบทางเดินอาหาร และภาวะซีดจากการขาดสารอาหาร ซึ่งเป็นผลจากจากปัญหาสุขภาช่องปาก ดังนั้นสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลปูยุด ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการ ๓ กลุ่มวัยรักษ์ ฟ.ฟัน ขึ้นเพื่อให้ ประชาชน และผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่องของการดูแลสุขภาพช่องปากตลอดจน มีความรู้เรื่องโภชนาการทางทันตสุขภาพทั้งยังเป็นการ ลดและป้องกันไม่ให้เกิดโรคที่เป็นปัญหาตามมา

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับสุขภาพฟันใน๓กลุ่มวัย (วัยแม่และเด็ก, กลุ่มวัยทำงาน, ผู้สูงอายุ)

ประชาชนที่เข้าร่วม มีความรู้ด้านสุขภาพช่องปาก ร้อยละ ๘๐

2 เพื่อเฝ้าระวังภาวะฟันผุ๓กลุ่มวัย (วัยแม่และเด็ก, กลุ่มวัยทำงาน, ผู้สูงอายุ)

ประชาชนที่เข้าร่วมมีพฤติกรรมการดูแลฟันที่ถูกต้อง ผ่านการทดสอบการแปรงฟันที่ถูกวิธี ร้อยละ ๗๐

3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักการดูแลฟันอย่างถูกวิธี

อัตราการเกิดโรค และปัญหาสุขภาพช่องปากมีแนวโน้มลดลง

4 เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วย และผลกระทบจากปัญหาสุขภาพในช่องปาก

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.พ. 66มี.ค. 66
1 กิจกรรมให้ความรู้ เรื่องสุขภาพช่องปาก ( กลุ่มเป้าหมายวัยเด็กและวัยหญิงตั้งครรภ์, กลุ่มวัยทำงาน, ผู้สูงอายุ) จำนวน ๕0 คน (๒รุ่นๆละ ๕๐ คน)(20 ก.พ. 2566-20 ก.พ. 2566) 0.00    
2 กิจกรรมคัดกรอง เฝ้าระวังรณรงค์ สุขภาพฟัน ในชุมชน(1 มี.ค. 2566-1 มี.ค. 2566) 0.00    
รวม 0.00
1 กิจกรรมให้ความรู้ เรื่องสุขภาพช่องปาก ( กลุ่มเป้าหมายวัยเด็กและวัยหญิงตั้งครรภ์, กลุ่มวัยทำงาน, ผู้สูงอายุ) จำนวน ๕0 คน (๒รุ่นๆละ ๕๐ คน) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
2 กิจกรรมคัดกรอง เฝ้าระวังรณรงค์ สุขภาพฟัน ในชุมชน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีความรู้ด้านสุขภาพในช่องปากมากขึ้น สามารถนำความรู้ไปปรับใชในชีวิตประจำวัน
  2. ประชาชนได้รับการคัดกรอง และดูแลสุขภาพช่องปากมากขึ้น ประชาชนเกิดความตระหนักเรื่องสุขภาพช่องปาก
  3. ลดอัตราการเกิดโรค และเสริมสร้างสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ม.ค. 2566 13:34 น.