กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโล๊ะหะลอ


“ โครงการอบรมฟื้นฟูจิตใจหลังการบำบัดรักษายาเสพติด ”

ตำบลตะโต๊ะหะลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลฮาลิม มะกะนิ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมฟื้นฟูจิตใจหลังการบำบัดรักษายาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลตะโต๊ะหะลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4158-0205 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 26 พฤษภาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมฟื้นฟูจิตใจหลังการบำบัดรักษายาเสพติด จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโต๊ะหะลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโล๊ะหะลอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมฟื้นฟูจิตใจหลังการบำบัดรักษายาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมฟื้นฟูจิตใจหลังการบำบัดรักษายาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโต๊ะหะลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4158-0205 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 กุมภาพันธ์ 2566 - 26 พฤษภาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโล๊ะหะลอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจัยด้านบุคคล เชิงลึกของผู้ติดยาเสพติดที่มีการกลับไปติดยาเสพติดซ้ำ ประการหนึ่งคือ การไม่มีเป้าหมายในชีวิต ทุกข์จากความเครียดในปัญหาต่างๆ และปัจจัยแตกต่างที่พบว่า ผู้ติดยาเสพติดซ้ำมีน้อยกว่าผู้เลิกยาเสพติดได้ คือ การมองเห็นคุณค่าตนเองในความสำเร็จที่ผ่านมา ความภูมิใจและวิธีการแก้ปัญหาในปัจจุบัน นอกจากนี้ การศึกษายังระบุว่าแนวทางในการกำหนดนโยบายการป้องกันและแก้ไขปัญหาการติดยาเสพติดซ้ำ ด้านการบำบัดฯ คือ ต้องมีกิจกรรมการให้คำปรึกษา กิจกรรมกระตุ้นให้ผู้ป่วยรู้จักคิดวิเคราะห์ไตร่ตรองและรู้จักตนเอง สามารถวางเป้าหมายและเกิดแรงจูงใจทางบวกต่อการดำเนินชีวิต เจ้าหน้าที่ในสถานบำบัดฯ ต้องดูแลอย่างเต็มใจมีการพัฒนารูปแบบและเวลาที่ใช้ในการบำบัดที่เหมาะกับลักษณะผู้ป่วย ซึ่งมีภูมิหลังหรือบุคลิกลักษณะที่ต่างกัน ด้านการป้องกัน ต้องมีการรณรงค์ให้ความรู้ประชาชนและเยาวชนอย่างต่อเนื่อง เน้นการส่งเสริมการศึกษาการปลูกฝังวิธีคิดความเกรงกลัวบาปหรือจริยธรรมให้เด็กเสริมสร้าง ความเข้มแข็งให้ครอบครัว การป้องกันการเสพติดซ้ำในกลุ่มผู้ที่เลิกยาเสพติดได้ ทุกฝ่ายต้องยอมรับว่าผู้ป่วยเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน เปิดโอกาสให้เข้ามา ร่วมกิจกรรมในชุมชนพร้อมๆ กับการสร้างอาชีพและรายได้โดยชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติด (ค่ายเยาวชนต้านยาเสพติด)
  2. 2. กิจกรรมการติดตามให้คำปรึกษาและแนะนำดูแลเยาวชนในโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เยาวชนสามารถเลิกยาเสพติดและกลับไปดำเนินชีวิตด้วยความสมบูรณ์พร้อมทั้งด้านกาย สังคม อารมณ์ และจิตวิญญาณ 2.เยาวชนมีภูมิคุ้มกันให้แก่เยาวชนสมาชิกในการดำเนินชีวิต โดยให้มีความรู้ใน 3 วิชาหลัก คือ วิชาการ วิชาชีพ และวิชาชีวิต


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติด (ค่ายเยาวชนต้านยาเสพติด)

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าอาหาร ๓๐ คน * ๕๐ บาท * ๕ มื้อ (๒วัน) เป็นเงิน ๗,๕๐๐ บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๓๐ คน * ๒๕ บาท * ๔ มื้อ เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท -ค่าตอบแทนวิทยากร ๑๐ ชั่วโมง * ๖๐๐ บาท เป็นเงิน ๖,๐๐๐ บาท -ค่าป้ายโครงการขนาด ๑ * ๓ เมตร เป็นเงิน ๙๐๐ บาท -ค่าวัสดุอุปกรณ์แนบถ้าย เป็นเงิน ๕,๐๐๐ บาท งบประมาณ ๒๒,๔๐๐ บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เยาวชนสามารถเลิกยาเสพติดและกลับไปดำเนินชีวิตด้วยความสมบูรณ์พร้อมทั้งด้านกาย สังคม อารมณ์และจิตวิญญาณ -เยาวชนมีภูมิคุ้มกันให้แก่เยาวชนสมาชิกในการดำเนินชีวิต  โดยให้มีความรู้ใน ๓ วิชาหลัก คือวิชาการ วิชาชีพ และวิชาชีวิต

 

0 0

2. 2. กิจกรรมการติดตามให้คำปรึกษาและแนะนำดูแลเยาวชนในโครงการ

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าติดตามและประเมินผลการดูแลผู้ป่วย จำนวน ๕ คน *๑๐๐ บาท * ๖ ครั้ง (๒สัปดาห์/ ๑ ครั้ง ) งบประมาณ ๓,๐๐๐ บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เยาวชนสามารถเลิกยาเสพติดและกลับไปดำเนินชีวิตด้วยความสมบูรณ์พร้อมทั้งด้านกาย สังคม อารมณ์ และจิตวิญญาณ -เยาวชนมีภูมิคุ้มกันให้แก่เยาวชนสมาชิกในการดำเนินชีวิต โดยให้มีความรู้ใน ๓ วิชากลัก คือ วิชาการ วิชาชีพ และวิชาชีวิต

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติด (ค่ายเยาวชนต้านยาเสพติด) (2) 2. กิจกรรมการติดตามให้คำปรึกษาและแนะนำดูแลเยาวชนในโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมฟื้นฟูจิตใจหลังการบำบัดรักษายาเสพติด จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4158-0205

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลฮาลิม มะกะนิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด