กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โละจูด


“ ชุมชนร่วมใจใส่ใจการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ”

ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางจินตนาเลาะนะ

ชื่อโครงการ ชุมชนร่วมใจใส่ใจการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น

ที่อยู่ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-50114-1-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 ตุลาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ชุมชนร่วมใจใส่ใจการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โละจูด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชุมชนร่วมใจใส่ใจการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น



บทคัดย่อ

โครงการ " ชุมชนร่วมใจใส่ใจการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-50114-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 31 ตุลาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โละจูด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมาของการพัฒนาประเทศไทย การดำเนินชีวิตของคนในสังคมได้เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งการดำเนินชีวิตสภาพการแข่งขัน และสภาวะบีบคั้นทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ในครอบครัว ขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมปรับเปลี่ยนไป สภาพความทันสมัย ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีการติดต่อสื่่อสารที่ครอบงำทุกคนให้เน้นวัตถุนิยม พ่อแม่หลายคนทิ้งบุตรหลานไว้กับคนแก่เพื่อไปทำงานหารายได้ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญต่อชีวิตของคนในสังคมไทยที่เปลี่ยนแปลง สถานการและแนวโน้มการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นของไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ปัจจุบันทุก 4 นาที มีแม่วัยรุ่นคลอดลูก 1 คน ทุก 2 ชั่วโมงมีเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี คลอดลูก 1 คน หมายความว่าปัจจุบันทารก 1 ใน 6 เกิดจากแม่ที่ยังเป็นเด็กหรือวัยรุ่น( ที่มา: นายคาสปาร์ พีค ผู้แทนกองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UNFPA) ประจำประเทศไทย) ประเทศไทยมีอัตราเฉลี่ยของแม่วัยรุ่นสูงสุดในเอเชียและเป็นอันดับที่สองของโลกรองจากแอฟริกาใต้ นอกจากนี้ยังพบว่า ร้อยละ 65 ของวัยรุ่นไม่รู้วิธีคุทกำเนิดและไม่รู้วิธีป้องกันโรคที่ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สำหลับพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.โละจูด พบว่าจากผลการดเนินงานงานอนามัยแม่และเด็กปี 2560 พบว่ามีการตั้งครรภ์ไม่่พร้อมในวัยรุ่นจำนวน 15 ราย คิดเป็นร้อยละ 10 ซึ่งสู.มากนอกจากนี้การตั้งครรภ์ ในวัยรุ่นยังส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาวะอื่นๆ ตามมา เช่นการทำแท้ง คลอดก่อนกำหนด คลอดลูกน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2500 กรัม ปัญหาเลี้ยงลูกด้วยแม่และอื่นๆอีกซึ่งส่งผลต่อุณภาพชีวิตในอนาคตได้ ทาง รพ.สต.โละจูดร่วมกับกองทุนองค์การบริหารส่วนตำบลโละจูดจึงคิดที่จะทำโครงการชุมชนร่วมใจใส่ใจการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นขึ้นเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น แก่เยาวชนผู้ดูแล และอสม.เพื่อป้องกันไม่เกิดปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเยาวชน วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและมีความมั่นใจในตนเอง ในการป้องกันท้องไม่พร้อม
  2. ผู้ปกครองมีควมรู้ความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการป้องกันการท้องไม่พร้อมในวัยรุ่น
  3. อสม.มีความรู้ความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการป้องกันการท้องไม่พร้อมในวัยรุ่น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่วัยรุ่นและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มวัยรุ่นและเยาวชน วัยรุ่นมีทักษะชีวิต เข้าถึงเครื่องมือในการป้องกันตนเอง ป้องกันการท้องไม่พร้อมให้ปลอดภัยในเรื่องเพศ 2.ผู้ปกครองเข้าใจสถานการณ์ปัญหา และให้ความร่วมมือ ในการดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหาวัยรุ่นท้องไม่พร้อม 3.มีเครือข่ายการทำงาน เรื่องอนามัยเจริญพันธ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการป้องกันการท้องไม่พร้อมในระดับตำบล


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่วัยรุ่นและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม.

วันที่ 18 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่วัยรุ่นและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วัยรุ่นและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม.ได้รับความรู้

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเยาวชน วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและมีความมั่นใจในตนเอง ในการป้องกันท้องไม่พร้อม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเยาวชน และวัยรุ่นที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องทักษะชีวิต ในการป้องกันท้องไม่พร้อมร้อยละ 80
1.00

 

2 ผู้ปกครองมีควมรู้ความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการป้องกันการท้องไม่พร้อมในวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ผู็ปกครองที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการป้องกันการท้องไม่พร้อมน้อยกว่าร้อยละ 80
1.00

 

3 อสม.มีความรู้ความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการป้องกันการท้องไม่พร้อมในวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : อสม.ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการป้องกันการท้องไม่พร้อมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเยาวชน วัยรุ่นมีทักษะชีวิตและมีความมั่นใจในตนเอง ในการป้องกันท้องไม่พร้อม (2) ผู้ปกครองมีควมรู้ความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการป้องกันการท้องไม่พร้อมในวัยรุ่น (3) อสม.มีความรู้ความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการป้องกันการท้องไม่พร้อมในวัยรุ่น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่วัยรุ่นและเยาวชน ผู้ปกครองและอสม.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ชุมชนร่วมใจใส่ใจการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-50114-1-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจินตนาเลาะนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด