กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านปากทุ่ง
รหัสโครงการ 66-L8287-3-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมผู้สูงอายุบ้านปากทุ่ง
วันที่อนุมัติ 10 พฤศจิกายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 15,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ชมรมผู้สูงอายุบ้านปากทุ่ง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.82,100.94place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.พ. 2566 28 ก.พ. 2566 500.00
2 1 มี.ค. 2566 31 ส.ค. 2566 14,700.00
3 1 ก.ย. 2566 30 ก.ย. 2566 200.00
รวมงบประมาณ 15,400.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ นับแต่ปี พ.ศ.2543 เป็นต้นมา โดย1 ใน 10 ของประชากรไทยเป็นประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป และคาดว่าประเทศไทยจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ในปี พ.ศ.2564 คือประชากรสูงอายุจะมีถึง 1 ใน 5 และเป็น”สังคมสูงวัยระดับสุดยอด”โดยประมาณการว่าจะมีประชากรผู้สูงอายุ เพิ่มเป็นร้อยละ 30 ของประชากรทั้งหมด และในปัจจุบันผู้สูงอายุส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 85 ของจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด คือ ผู้สูงอายุที่สามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่ต้องพึ่งผู้อื่น(กลุ่มติดสังคม) อีกร้อยละ 14 เป็นผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งผู้อื่นบ้างในการประกอบกิจวัตรประจำวัน(กลุ่มติดบ้าน) และต้องพึ่งพาผู้อื่นทั้งหมดร้อยละ 1 ซึ่งอายุมากกว่า 80 ปี และมีแนวโน้มสัดส่วนการเพิ่มขึ้นของกลุ่มนี้มากขึ้นเรื่อยๆ     แม้ว่าประชากรไทยมีอายุยืนยาวขึ้น แต่พบว่าผู้สูงอายุต้องเผชิญกับการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังและตกอยู่ในภาวะทุพพลภาพเพิ่มขึ้น โดยพบว่า ผู้สูงอายุไทยมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพียงร้อยละ 26 เท่านั้นและร้อยละ 95 ของผู้สูงอายุจะมีปัญหาสุขภาพโดยมีความเจ็บปวดด้วยโรคความดันโลหิตสูงมากที่สุด (ร้อยละ 41) รองลงมาคือเบาหวาน ภาวะสมองเสื่อม ข้อเสื่อมและซึมเศร้าตามลำดับ ดังนั้นหากปล่อยให้เป็นเช่นนี้จะส่งผลกระทบต่อทั้งตัวผู้สูงอายุเอง ครอบครัว รวมถึงภาครัฐที่ต้องใช้งบประมาณจำนวนมหาศาลเพื่อใช้จ่ายในการดูแลรักษาสุขภาพ ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องมีการเฝ้าดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องตลอดจนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม   กลุ่มหรือชมรมผู้สูงอายุในระดับหมู่บ้านหรือชุมชนถือเป็นกลไกสำคัญที่มีบทบาทสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุ เนื่องจากมีความใกล้ชิด เข้าใจสภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ รวมถึงสามารถเข้าถึงและพัฒนาผู้สูงอายุในชุมชนได้ดีที่สุด แต่ในปัจจุบันกลับพบว่ากลุ่มหรือชมรมผู้สูงอายุในบางพื้นที่ยังขาดความเข้มแข็งในการดำเนินงานเพื่อสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจและสังคม กล่าวคือบางกลุ่มเพิ่งอยู่ในระยะเริ่มต้นของการรวมตัว หรือบางกลุ่มแม้จะมีการรวมตัวกันมานานแล้วแต่ขาดการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องให้แก่ผู้สูงอายุในชุมชน   สำหรับชมรมผู้สูงอายุหมู่ 8 ตำบลเทพา เป็นชมรมที่จัดตั้งขึ้นตั้งแต่พ.ศ.2562 และในปัจจุบันมีกิจกรรมที่ดำเนินมาแล้วดังนี้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุจาการดำเนินงานที่ผ่านมาพบว่า ยังมีอุปสรรคและต้องการการพัฒนาเพื่อสร้างเสริมความเข้มแข็งในการแก่กลุ่ม หรือชมรมผู้สูงอายุในเรื่องดังต่อไปนี้สร้างความเข้มแข็งของชมรมผู้สูงอายุ และพัฒนาศูนย์บริวารในการสร้างความเข้มแข็งของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลเทพานอกจากนี้จากข้อมูลผู้สูงอายุตำบลเทพา มีจำนวนทั้งหมด

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าและมีส่วนร่วมนำกิจกรรมต่างๆในชุมชนเกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนในการดำเนินงานกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุ

การเข้าร่วมกิจกรรมของผู้สูงอายุในชมรมสัดส่วนร้อยละ ๘๐

80.00
2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้นได้

.มีการดำเนินกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 6 ครั้ง

80.00
3 เพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยได้รับการตรวจประเมินภาวะสุขภาพ และสามารถดูแลตนเองได้ทั้งทางร่างกายและจิตใจ

ร้อยละ 100 ของสมาชิกในชมรมผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพพึงประสงค์ปีละ 1 ครั้ง

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณมี.ค. 66เม.ย. 66พ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66
1 ประชุมจัดทำแผนสุขภาพของผู้สูงอายุ(1 มี.ค. 2566-31 มี.ค. 2566) 0.00              
2 กิจกรรม เพื่อให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับวัยสูงอายุ(1 มี.ค. 2566-31 ส.ค. 2566) 0.00              
3 สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ(1 ก.ย. 2566-30 ก.ย. 2566) 0.00              
รวม 0.00
1 ประชุมจัดทำแผนสุขภาพของผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
2 กิจกรรม เพื่อให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับวัยสูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
3 สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าและมีส่วนร่วมนำกิจกรรมต่างๆในชุมชนเกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนในการดำเนินงานกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุ
  2. ผู้สูงอายุมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้นได้
  3. ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีทุกคน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 ม.ค. 2566 09:31 น.