กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน


“ โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจาหนัน ”

ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสารีนา สุหลง

ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจาหนัน

ที่อยู่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L-4137-3-01 เลขที่ข้อตกลง 28/66

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2566 ถึง 1 พฤษภาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจาหนัน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจาหนัน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจาหนัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L-4137-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2566 - 1 พฤษภาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กปฐมวัยเป็นวัยเริ่มต้นของชีวิตและพัฒนาการในทุกด้าน เป็นช่วงวัยที่พัฒนาการทางด้านต่างๆ เป็นไปอย่างรวดเร็วที่สุดและเป็นฐานรากที่สำคัญสำหรับพัฒนาการในช่วงวัยต่อๆ ไป เด็กในวัยนี้จึงเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีความสำคัญอย่างยิ่งของประเทศ เด็กปฐมวัยที่ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมตามช่วงวัย      จะสามารถเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีมีคุณภาพและจะเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติต่อไปในอนาคต ปัจจัยที่ทำให้เด็กปฐมวัยเกิดพัฒนาการด้านต่างๆ ที่เหมาะสมตามวัย คือ การกระตุ้นพัฒนาการ และการมีโภชนาการที่ดี อาหารที่ดีมีคุณภาพและเพียงพอ จึงเป็นสิ่งสำคัญที่ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรในสถานศึกษา ตลอดจนคนในชุมชนเองควรให้ความสำคัญ จากการวิจัยของกระทรวงสาธารณสุขทั้งในและต่างประเทศพบว่าเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาการล้าช้า เกิดจากการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ ทำให้ขาดสารอาหาร บางรายอาจอย่างรุนแรงจนทำให้ร่างกายเตี้ยแคระ น้ำหนักน้อย การรับประทานอาหารที่ดีมีคุณภาพและปริมาณเพียงพอนั้น จะทำให้เด็กมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ ร่างกายแข็งแรง มีความมั่นคงทางอารมณ์ สามารถเข้ากับสังคมได้ ไอคิวสูง มีพลังงานสามารถทำกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจำวันได้ และสมองปลอดโปร่งพร้อมที่จะเรียนรู้ตลอดเวลา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจาหนัน ได้สำรวจข้อมูลเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก            ปีการศึกษา 2565 พบว่า ในช่วงจัดการเรียนการสอนปกตินั้นเด็กจะได้รับประทานอาหารเที่ยงที่ศูนย์            พัฒนาเด็กเล็กในปริมาณที่เพียงพอและสารอาหารครบถ้วนอยู่แล้ว แต่ยังพบปัญหาเด็กปฐมวัยบางคนมีภาวะทุพโภชนาการ และบางคนเป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดภาวะทุพโภชนาการ สำรวจทั้งหมด 51 คน พบว่า มีจำนวนเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 5 คน และเสี่ยงทุพโภชนาการ จำนวน 9 คน โดยสาเหตุหลักมาจากการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ อาหารที่เด็กนักเรียนรับประทานจากบ้านส่วนใหญ่รับประทานเน้นแต่คาร์โป      ไฮเดรต ไม่ค่อยรับประทานอาหารประเภทโปรตีน ซึ่งโปรตีนเป็นสารอาหารสำคัญมีส่วนช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต เสริมสร้างความแข็งแรง ป้องกันไม่ให้ร่างกายเกิดการเจ็บป่วยง่าย เสริมสร้างเซลล์เนื้อเยื่อของอวัยวะ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจาหนัน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยฯ ขึ้น ประกอบกับหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ มท 0816.2/          ว2718 ลงวันที่ 5 กันยายน 2565 แจ้งว่าศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้(ศอ.บต.)          โดยคณะกรรมการยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้(กพต.) ได้มีมติในคราวประชุม กพต.        ครั้งที่ 2/2565 เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2564 อนุมัติในหลักการโครงการแก้ไขปัญหาสุขภาวะ และภาวะโภชนาการต่ำของเด็กเล็กในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564-2568 (รวม 5 ปี) มีพื้นที่เป้าหมาย 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ฯ ซึ่งจากการประชุมหารือได้มีมติให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเตรียมเสนอโครงการในการขอรับสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.) ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. .เพื่อให้ครู บุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และผู้ปกครองได้รับความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการและ การรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ
  2. เพื่อลดปัญหาเด็กปฐมวัยที่เป็นกลุ่มเสี่ยง และเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ ได้รับการส่งเสริมโภชนาการ และรับประทานอาหารถูกหลักโภชนาการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  2. กิจกรรมแจกไข่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเจริญเติบโต และมีพัฒนาการเหมาะสมตามสมวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 4 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ครู บุคลากรและผู้ปกครอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ของผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ภาวะโภชนาการ และการรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ

 

50 0

2. กิจกรรมแจกไข่

วันที่ 4 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมไข่ไก่แก่ผู้ปกครอง เพื่อนำไปประกอบอาหารให้เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ และเด็กกลุ่มเสี่ยงได้รับประทานที่บ้าน วันละ 1 ฟอง หรือเดือนละ 1 แผง จำนวน 5 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ของเด็กปฐมวัยที่มีภาวะทุพโภชนาการ และเด็กที่เป็นกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลช่วยเหลือ

 

15 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 .เพื่อให้ครู บุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และผู้ปกครองได้รับความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการและ การรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ภาวะโภชนาการ และการรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ
5.00

 

2 เพื่อลดปัญหาเด็กปฐมวัยที่เป็นกลุ่มเสี่ยง และเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ ได้รับการส่งเสริมโภชนาการ และรับประทานอาหารถูกหลักโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็กปฐมวัยที่มีภาวะทุพโภชนาการ และเด็กที่เป็นกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลช่วยเหลือ
5.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) .เพื่อให้ครู บุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และผู้ปกครองได้รับความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการและ    การรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ (2) เพื่อลดปัญหาเด็กปฐมวัยที่เป็นกลุ่มเสี่ยง และเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ ได้รับการส่งเสริมโภชนาการ และรับประทานอาหารถูกหลักโภชนาการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมแจกไข่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจาหนัน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L-4137-3-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสารีนา สุหลง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด