กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โละจูด


“ โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ ปี ๒๕๖๑ ”

ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ ปี ๒๕๖๑

ที่อยู่ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-50114-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ ปี ๒๕๖๑ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โละจูด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ ปี ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ ปี ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-50114-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โละจูด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในช่วงระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคมเป็นช่วงปิดการศึกษาภาคฤดูร้อนของเด็กและเยาวชนประจวบกับเป็นช่วงที่มีอากาศร้อนจึงทำให้เด็กและเยาวชน นิยมลงเล่นน้ำโดยขาดทักษะความรู้และการป้องกันอันตรายที่เกิดจากการว่ายน้ำได้ จึงส่งผลให้เด็กและเยาวชนเสียชีวิตจากการจมน้ำปีละหลายราย จากข้อมูลสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค พบว่าการจมน้ำและเสียชีวิตของเยาวชนทั่วโลกเกิดขึ้นทุกปีมีผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำ 372000 คน และมากกว่าครึ่งที่เสียชีวิตมีอายุต่ำกว่า 25 ปี เพศชายจมน้ำเสียชีวิตมากกว่าเพศหญิงถึง 2 เท่าอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำสูงสุดในเด็ก อายุ 1-4 ปี สำหรับประเทศไทยสถิติการจมน้ำในรอบ 10 ปี 2546-2556 พบว่าเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จมน้ำเสียชีวิตแล้วจากการจมน้ำเสียชีวิตแล้วถึง 15494 คน เฉลี่ยปีละ 1291 คน หรือวันละ ประมาณ 4 คน โดยเฉพาะในช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม มีเด็กเสียชีวิตจากตกน้ำ จมน้ำ สูงถึง 442 คน ส่วนใหญ่เป็นเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี แหล่งน้ำที่พบบ่อยร้อยละ 50 เป็นแหล่งน้ำธรรมชาติ รองลงมาคือสระว่ายน้ำ พบร้อยละ 5 และอ่างเก็บน้ำพบร้อยละ 5 สำหรับนราธิวาส ในปี พ.ศ.2556-2558 พบว่ามีผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำ 9 คน, 6 คน, 6 คน,อัตรา 4.4,2.9,2.9 ตามลำดับ และในอำเภอแว้งไม่พบผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำ แต่มีสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติอุทยานแห่งชาติน้ำน้ำตกสิริธร แหล่งน้ำธรรมชาติ แม่น้ำลำคลอง และแหล่งน้ำ ที่สร้างขึ้นเช่น สระว่ายน้ำ คูระบายน้ำ บ่อหรือสระกักเก็บน้ำในสวนฯ สาเหตุการตกน้ำ สาเหตุหลักของการจมน้ำในเด็กเล็กคือผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กให้เด็กอยู่อย่างลำพัง ส่วนเด็กโตส่วนใหญ่เกิดจากเด็กแอบไปเล่นน้ำกันเองโดยไม่มีผู้ใหญ่ไปด้วยซึ่งวิธีเอาตัวรอดในน้ำ เมื่อตกน้ำจะพยายามว่ายเข้าหาผั่งแต่จะหมดแรงและจมน้ำก่อนถึงฝั่ง รวมทั้งไม่รู้วิธีการช่วยเหลือที่ถูกต้องจึงมักลงน้ำไปช่วย ทำให้ถูกกอดรัจมน้ำเสียชีวิตพร้อมกัน จากสาเหตุดังกล่าว ได้ส่งผลให้เกิดการตกน้ำจมน้ำเสียชีวิต ดังนั้นสำนักงานสาธารณสุขอำเภอแว้ง ได้เล็งเห็นความสำคัญในการป้องกันและลดปัญหาที่เกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ เพื่อให้เยาวชนในตำบลโละจูดมีความปลอดภัยจากการเล่นน้ำในช่วงหยุดภาคการศึกษาและวันหยุดประจำสัปดาห์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กมีความรู้และทักษะในการเอาชีวิตรอดในน้ำ
  2. เพื่อให้เด็กมีความรู้พื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและช่วยฟื้นคืนชีพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมติดตั้งอุปกรณ์ในการเตรียมพื้นที่้ฝ้าระวังเหตุ อุปกรณ์ในการช่วยเหลือเมื่อเกิดเหตุการณ์ ตกน้ำจมน้ำ แผ่นป้ายให้ความรู็ วิธีการปฏิบัติตนเมื่อพบเหตุการณ์ตกน้ำจมน้ำ
  2. ดำเนินการอบรมให้ความรู้ ฝึกทักษะ ตามหลักการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุการณ์ตกน้ำ จมน้ำ ตะโกน โยน ยื่น และการช่วยฟื้นคืนชืพ การว่ายน้ำเอาตัวรอด การลอยตัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อำเภอแว้งไม่มีผู้เสียชีวิตจากการตกน้ำจมน้ำในพื้นที่เป้าหมายที่ได้รับการติดตั้งอุปกรณ์ช่วยการจมน้ำ
  2. กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการว่ายน้ำ ลอยตัว ทักษะการช่วยผู้ประสบเหตุตกน้ำจมน้ำได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กมีความรู้และทักษะในการเอาชีวิตรอดในน้ำ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ทักษะในการเอาชีวิตรอดในน้ำร้อยละ 100
1.00

 

2 เพื่อให้เด็กมีความรู้พื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและช่วยฟื้นคืนชีพ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้พื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและช่วยฟื้นคืนชีพร้อยละ 100
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กมีความรู้และทักษะในการเอาชีวิตรอดในน้ำ (2) เพื่อให้เด็กมีความรู้พื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและช่วยฟื้นคืนชีพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมติดตั้งอุปกรณ์ในการเตรียมพื้นที่้ฝ้าระวังเหตุ อุปกรณ์ในการช่วยเหลือเมื่อเกิดเหตุการณ์ ตกน้ำจมน้ำ แผ่นป้ายให้ความรู็ วิธีการปฏิบัติตนเมื่อพบเหตุการณ์ตกน้ำจมน้ำ (2) ดำเนินการอบรมให้ความรู้ ฝึกทักษะ ตามหลักการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุการณ์ตกน้ำ จมน้ำ ตะโกน โยน ยื่น และการช่วยฟื้นคืนชืพ การว่ายน้ำเอาตัวรอด การลอยตัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ ปี ๒๕๖๑ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-50114-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด