กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะ โดยเฉพาะขยะอินทรีย์ที่เกิดจากครัวเรือน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดต่อวัน
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดต่อวัน ลดลงครึ่งหนึ่งของแต่ละครัวเรือน
2.40 1.20 1.50

ปริมาณขยะลดลงเมื่อเทียบกับปริมาณขยะในปีที่ผ่านมา

2 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ ทุกครัวเรือนมีการจัดการขยะอินทรีย์ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ
0.38 100.00 100.00

ครัวเรือนมี่การจัดการขยะอินทรีย์100%

3 เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการด้านการจัดการขยะ ทุกครัวเรือน
50.00 100.00 100.00

ทุกชุมชนมีกระบวนการจัดการขยะอินทรีย์

4 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน ทุกหมู่บ้านมีกลุ่มในการจัดการขยะอินทรีย์
3.00 12.00 12.00

ทุกชุมชนมีการจัดการขยะอินทรีย์

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 600 600
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 600 600
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดต่อวัน (2) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ (3) เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ (4) เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ (3) จัดทำและสาธิตการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน (4) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ความเข้าใจ เรื่อง วิธีการคัดแยกขยะอินทรีย์ห รือขยะเปียกใน ครัวเรือน แก่ประชาชน ครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายใน การจัดทำถังขยะอินทรีย์หรือขยะเปียก ผ่านบอร์ด ประชาสัมพันธ์หมู่บ้าน และเสียงตามสายหมู่บ้าน (5) กิจกรรมอบรม บรรยายให้ความรู้ อบรม บรรยายให้ความรู้ความเข้าใจ เรื่อง วิธีการ คัดแยกขยะอินทรีย์หรือขยะเปียกในครัวเรือน แก่ ประชาชน ครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายในการจัดทำถัง ขยะอินทรีย์หรือขยะเปียก (6) จัดทำถังขยะอินทรีย์หรือถังขยะเปียก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh