กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน


“ โครงการค้นหา ป้องกัน และควบคุมวัณโรคในชุมชน ตำบลบ่อหิน ประจำปี 2566 ”

ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางพัสตราภรณ์ ดวงดาว

ชื่อโครงการ โครงการค้นหา ป้องกัน และควบคุมวัณโรคในชุมชน ตำบลบ่อหิน ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L8429-01-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มกราคม 2566 ถึง 30 เมษายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค้นหา ป้องกัน และควบคุมวัณโรคในชุมชน ตำบลบ่อหิน ประจำปี 2566 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค้นหา ป้องกัน และควบคุมวัณโรคในชุมชน ตำบลบ่อหิน ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค้นหา ป้องกัน และควบคุมวัณโรคในชุมชน ตำบลบ่อหิน ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L8429-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มกราคม 2566 - 30 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุข เป็นสาเหตุของการป่วย และการเสียชีวิตในหลายๆประเทศ  ทั่วโลก อีกทั้งปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ทำให้ปัญหาวัณโรคมีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเนื่องจากการติดเชื้อเอดส์ทำให้ภูมิคุ้มกันบกพร่อง มีโอกาสป่วยเป็นวัณโรคได้รวดเร็วและรุนแรงกว่าผู้ที่ไม่ติดเชื้อเอดส์ วัณโรคจึงนับเป็นปัญหาที่ท้าทายต่อวงการสาธารณสุขของประเทศต่างๆ ปัจจุบันทั่วโลกมีผู้ที่ติดเชื้อวัณโรคประมาณ ๒ พันล้านคน หรือเกือบ ๑ ใน ๓ ของประชากรโลก มีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิต ๑.๙๐ ล้านคนในแต่ละปี จากการคำนวณทางระบาดวิทยาในรายงานขององค์การอนามัยโลกคาดว่า ประเทศไทยน่าจะมีผู้ป่วยรายใหม่ทุกประเภทประมาณ ๙๒,๓๐๐ คน ในจำนวนนี้ประมาณครึ่งหนึ่ง หรือ ๔๔,๔๗๕ คนเป็นผู้ป่วยที่สามารถแพร่เชื้อได้ และมีผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิตปีละ ๑๒,๐๘๙ ราย นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ป่วยโรคเอดส์รายใหม่ตรวจพบวัณโรคร่วมด้วย ประมาณร้อยละ ๑๗
  รายงานสถานการณ์และการเฝ้าระวังวัณโรคประเทศไทย ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ข้อมูล ณ วันที่31 มีนาคม 2564 พบว่า ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ ของทุกประเภท (คนไทย ไม่ใช่คนไทย และเรือนจำ) ที่ขึ้นทะเบียน จำนวน 35,951 ราย  คิดเป็นอัตราการรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ 54.0 ต่อแสนประชากร   สถานการณ์วัณโรคในอำเภอสิเกา ปี ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่เสมหะพบเชื้อจำนวน ๑๕ ,๑๔ และ ๑๗ ราย ตามลำดับ มีผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่เสมหะพบเชื้อที่อาศัยอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 1,2,3,๖,8,9 ตำบลบ่อหิน จำนวน ๔ ,๕ และ ๓ ราย ตามลำดับ โดยปี ๒๕๖๔-๒๕๖๕ พบผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิต จำนวน ๒ รายและ ๑ ราย ตามลำดับ อัตราความครอบคลุมการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ปี ๒๕๖๕ ร้อยละ ๔๖.๕ ซึ่งยังต่ำกว่าเกณฑ์ที่กรมควบคุมโรคตั้งเกณฑ์เป้าหมายไว้ร้อยละ ๘๘ จึงจำเป็นต้องเร่งรัดค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มประชากรด้อยโอกาส และกลุ่มเสี่ยงต่างๆให้ครอบคลุม รวมทั้งทำงานแบบผสมผสานทั้งงานวัณโรค และโรคเอดส์อย่างจริงจัง เพื่อลดอัตราการตายของผู้ป่วย และป้องกันปัญหาวัณโรคดื้อยาหลายขนานอีกด้วย โดยการดำเนินงานดังกล่าวจำเป็นต้องได้รับการ ช่วยเหลือจาก ภาคส่วน และองค์กรในชุมชน โดยเฉพาะอาสาสมัครธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ซึ่งเป็นบุคคลจิตอาสาที่อาศัยอยู่ในชุมชน เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับจากชุมชน มีระบบเครือญาติ และเครือข่ายทางสังคม มีความคล่องตัว คุ้นเคย เข้าใจสภาพปัญหาในชุมชน และมีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ร่วมกับบุคลากรสาธารณสุขมาอย่างต่อเนื่อง จากความสำคัญดังกล่าว โรงพยาบาลสิเกาจึงได้จัดทำโครงการค้นหา ป้องกัน และควบคุมวัณโรคในชุมชน โดยเชิญอสม.ในพื้นที่หมู่ที่ ๑ ,๒, ๓ ,๖, ๘ ,๙ ตำบลบ่อหินเพื่อรับการพัฒนาความรู้ และทักษะตลอดทั้งดำเนินการคัดกรองวัณโรคและ ส่งต่อในรายที่มีอาการสงสัยไปโรงพยาบาลสิเกา อีกทั้งเป็นแกนนำในการสร้างความเข้าใจและจัดทำแนวทางแก้ไขปัญหาวัณโรคร่วมกับชุมชน เพื่อให้ชุมชนสามารถดำเนินงานป้องกันและควบคุมวัณโรคปอดได้ด้วยชุมชนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้อสม.แกนนำมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัณโรค
  2. เพื่อให้อสม.แกนนำ มีทักษะที่ถูกต้องในการคัดกรอง ผู้สัมผัสเสี่ยงสูง สามารถตั้งคำถาม/ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยวัณโรคและญาติได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
  3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเป้าหมายในชุมชนได้รับการคัดกรอง วัณโรคและได้รับการส่งต่อในรายที่มีอาการสงสัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรม อสม. โดยการบรรยาย เนื้อหาประกอบด้วย -ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัณโรค -ยาที่ใช้ในการรักษาวัณโรคและอาการข้างเคียง -แนวทางการเยี่ยมบ้านและการกำกับการกินยา -แนวทางคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมายและการส่งต่อ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.อสม.แกนนำสามารถเป็นผู้นำในการป้องกันวัณโรค ๒.ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายได้รับการกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง(DOT) โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม. ๓.อัตราป่วยวัณโรคลดลง ๔.ชุมชนสามารถดำเนินงานป้องกันและควบคุมวัณโรคปอดได้ด้วยชุมชนเอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรม อสม. โดยการบรรยาย เนื้อหาประกอบด้วย -ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัณโรค -ยาที่ใช้ในการรักษาวัณโรคและอาการข้างเคียง -แนวทางการเยี่ยมบ้านและการกำกับการกินยา -แนวทางคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมายและการส่งต่อ

วันที่ 30 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

๑.แต่งตั้งคณะทำงานโครงการ ๒.ประชุมคณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการ ๓.จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร สื่อและสถานที่ ๔.ติดต่อประสานงานวิทยากร ๕.ประสานงานกับกลุ่มเป้าหมายและเชิญเข้าร่วมโครงการค้นหา ป้องกัน และควบคุมวัณโรคในชุมชน
๖.อบรม อสม.แกนนำ ๗.ดำเนินกิจกรรมค้นหา ป้องกัน และควบคุมวัณโรคในชุมชน (หมู่ที่๑,๒,๓,๖,๘,๙) ต.บ่อหิน อ.สิเกา จ.ตรัง  ตามแผน
๘.ประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑.อสม.แกนนำสามารถเป็นผู้นำในการป้องกันวั ๒.ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายได้รับการกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยง(DOT) โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ
๓.อัตราป่วยวัณโรค ๔.ชุมชนสามารถดำเนินงานป้องกันและควบคุมวัณโรคปอดได้ด้วยชุมชนเอง

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้อสม.แกนนำมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัณโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙๐ ของอสม.แกนนำที่รับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัณโรคเพิ่มขึ้น
90.00

 

2 เพื่อให้อสม.แกนนำ มีทักษะที่ถูกต้องในการคัดกรอง ผู้สัมผัสเสี่ยงสูง สามารถตั้งคำถาม/ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยวัณโรคและญาติได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙๐ ของอสม.แกนนำที่ได้รับการอบรมมีทักษะที่ถูกต้องในการคัดกรองผู้สัมผัสเสี่ยงสูง สามารถตั้งคำถาม/ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยวัณโรคและญาติได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
90.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเป้าหมายในชุมชนได้รับการคัดกรอง วัณโรคและได้รับการส่งต่อในรายที่มีอาการสงสัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๑๐๐ ของกลุ่มเสี่ยงเป้าหมายในชุมชนได้รับการคัดกรองวัณโรคและได้รับการส่งต่อในรายที่มีอาการสงสัย
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อสม.แกนนำมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัณโรค (2) เพื่อให้อสม.แกนนำ มีทักษะที่ถูกต้องในการคัดกรอง      ผู้สัมผัสเสี่ยงสูง สามารถตั้งคำถาม/ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยวัณโรคและญาติได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเป้าหมายในชุมชนได้รับการคัดกรอง    วัณโรคและได้รับการส่งต่อในรายที่มีอาการสงสัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรม อสม. โดยการบรรยาย เนื้อหาประกอบด้วย    -ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัณโรค    -ยาที่ใช้ในการรักษาวัณโรคและอาการข้างเคียง      -แนวทางการเยี่ยมบ้านและการกำกับการกินยา      -แนวทางคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมายและการส่งต่อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการค้นหา ป้องกัน และควบคุมวัณโรคในชุมชน ตำบลบ่อหิน ประจำปี 2566 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L8429-01-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพัสตราภรณ์ ดวงดาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด