กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนตำบลบูกิต ปีงบประมาณ2566 ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวซีตีมารีแย สาแล๊ะ




ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนตำบลบูกิต ปีงบประมาณ2566

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2479-05-01 เลขที่ข้อตกลง 01/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนตำบลบูกิต ปีงบประมาณ2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนตำบลบูกิต ปีงบประมาณ2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนตำบลบูกิต ปีงบประมาณ2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2479-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 89,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อโดยมียุงลายเป็นพาหะ ที่สร้างความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสีย ทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ กองโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรคได้ติดตามสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย พบว่า มีอุบัติการณ์ต่ำกว่าค่ามัธยฐาน ๕ ปี ย้อนหลังอย่างต่อเนื่อง มาเป็นเวลาเกือบ 2 ปี (พ.ศ. 2563 -2564) จึงมีโอกาสที่ในปี พ.ศ.2565 จะเกิดการระบาดมาก ด้วยสถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือดออก จากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2565 พบว่า จังหวัดนราธิวาส มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 638 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 79.33 ต่อแสนประชากร และในส่วนของอำเภอเจาะไอร้องพบอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกสูงที่สุดในจังหวัดนราธิวาส พบผู้ป่วยจำนวน 74 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 230.96 ต่อแสนประชากร และพบผู้ป่วยมากที่สุดในตำบลบูกิต รวมจำนวน 61 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 350.78 ต่อ แสนประชากร และแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นจนถึงต้นปี พ.ศ.2566 ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยน แนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเองพร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน โรงเรียน ศาสนสถาน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ ดังนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลบูกิตจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังควบคุม ป้องกัน โรคไข้เลือดออกในชุมชนตำบลบูกิต ปีงบประมาณ 2566 เพื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการควบคุม ป้องกันการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก เพื่อลดอัตราการป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ และเพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและลูกน้ำยุงลายอย่างถูกต้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  2. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและลูกน้ำยุงลาย
  3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุม ป้องกัน การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้องและเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการ
  2. แจกใบกอน ยากันยุง และทรายอะเบตกำจัดลูกน้ำยุงลาย
  3. พ่นหมอกควันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  4. กิจกรรมฉีดพ่นสารเคมี ในชุมชน
  5. กิจกรรม ให้ความรู้กับประชาชน เกี่ยวกับการเฝ้าระวังควบและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน แบ่งเป็น 2 รุ่น ๆ ละ 50 คน
  6. กิจกรรม เดินรณรงค์และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 160
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  2. ไม่เกิดการแพร่ระบาดอย่างรุนแรงของโรค ในพื้นที่
  3. ประชาชนมีส่วนร่วม ควบคุม กำจัดลูกน้ำยุงลาย ปรับสภาพแวดล้อมในอาคาร บ้านเรือน ที่พักอาศัย สถานที่ทำงาน และชุมชน ให้สะอาดน่าอยู่
  4. ลดอัตราการป่วยด้วยระบาดวิทยาในพื้นที่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการ

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ป้ายไวนิลขนาด 1 x 3 เมตร ๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 750 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้ในความเข้าใจเกี่ยวกับโรคระบาดในพื้นที่

 

0 0

2. แจกใบกอน ยากันยุง และทรายอะเบตกำจัดลูกน้ำยุงลาย

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าทรายอะเบตกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ชนิดซอง 500 ซอง) จำนวน 2 ถัง เป็นเงิน 11,000 บาท ค่าใบกอน 70 บาท x 200 กระป๋อง เป็นเงิน 14,000 บาท โลชั่นทากันยุง 240 ซอง เป็นเงิน 940 บาท ถุงดำ 2 กิโลกรัม เป็นเงิน 360 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้ในความเข้าใจเกี่ยวกับโรคระบาดในพื้นที่

 

0 0

3. พ่นหมอกควันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าพ่นหมอกควัน จำนวน 4 โรง ๆ ละ 2 ครั้งๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท ค่าน้ำมันดีเซล 50 ลิตร x 40 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท ค่าน้ำมันเบนซิน 50 ลิตร x 50 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท ค่าผ้าปิดจมูก 3 กล่อง x 150 บาท เป็นเงิน 450 บาท ค่าถุงมือดิสโพส 2 กล่อง x 350 เป็นเงิน 700 บาท ค่าน้ำมันเคมีภัณฒ์ป้องกันและกำจัดยุง 2ขวด x 1,850 บาท เป็นเงิน 3,700บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้ในความเข้าใจเกี่ยวกับโรคระบาดในพื้นที่

 

0 0

4. กิจกรรมฉีดพ่นสารเคมี ในชุมชน

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าพ่นหมอนควันจำนวน 50 หลังคาเรือน x 10 บาท จำนวน 1 ครั้ง เป็นเงิน 500 บาท ค่าน้ำมันดีเซล 50 ลิตร x 40 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท ค่าน้ำมันเบนซิน 50 ลิตร x 50 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท ค่าผ้าปิดจมูก 3 กล่อง x 150 บาท เป็นเงิน 450 บาท ค่าถุงมือดิสโพส 2 กล่อง x 350 เป็นเงิน 700 บาท ค่าน้ำมันเคมีภัณฒ์ป้องกันและกำจัดยุง 2ขวด x 1,850 บาท เป็นเงิน 3,700บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ไม่เกิดการเเพร่ระบาดอย่างรุนเเรงของโรคในพื้นที่

 

0 0

5. กิจกรรม ให้ความรู้กับประชาชน เกี่ยวกับการเฝ้าระวังควบและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน แบ่งเป็น 2 รุ่น ๆ ละ 50 คน

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารกลางวัน 100 คน x 60 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 100 คน x 25 บาท  x 2 มื้อ เป็นเงิน 5,000 บาท ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน x 6 ชม. x 2 วัน x 600  บาท เป็นเงิน 7,200 บาท ค่า กระเป๋า สมุด ปากกา จำนวน  100 ชุด x 150 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีส่วนร่วมควบคุมกำจัดลูกน้ำยุงลายปรับสภาพเเวดล้อมในอาคาร บ้านเรือน ที่พักอาศัย สถานที่ทำงานเเละชุมชน ให้สะอาดน่าอยู่

 

0 0

6. กิจกรรม เดินรณรงค์และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ ขนาด 1x3 เมตร ๆ ละ 250 บาท x 3 ผืน เป็นเงิน 2,250 บาท ค่าโฟมบอร์ด พร้อมท่อติดตั้ง ขนาด 0.4 x 0.6 เมตร จำนวน 5 ป้าย ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท ค่าแผ่นพับโรคไข้เลือดออก จำนวน 300 ใบ x 10 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน60 คน x 25 บาทx 1 มื้อ เป็นเงิน 1500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลดอัตราการป่วยด้วยระบาดวิทยา ในพื้นที่

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุม ป้องกัน การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 160
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (2) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและลูกน้ำยุงลาย (3) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุม ป้องกัน การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้องและเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการ (2) แจกใบกอน ยากันยุง และทรายอะเบตกำจัดลูกน้ำยุงลาย (3) พ่นหมอกควันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (4) กิจกรรมฉีดพ่นสารเคมี ในชุมชน (5) กิจกรรม ให้ความรู้กับประชาชน เกี่ยวกับการเฝ้าระวังควบและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน แบ่งเป็น 2 รุ่น ๆ ละ 50 คน (6) กิจกรรม เดินรณรงค์และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนตำบลบูกิต ปีงบประมาณ2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2479-05-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซีตีมารีแย สาแล๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด