กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี


“ โครงการมหกรรมสุขภาพดี ชาวฝาละมียั่งยืน ”

พื้นที่เขตรับผิดชอบ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุชาดา ปาทะรัตน์

ชื่อโครงการ โครงการมหกรรมสุขภาพดี ชาวฝาละมียั่งยืน

ที่อยู่ พื้นที่เขตรับผิดชอบ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3338-02-05 เลขที่ข้อตกลง L3338-02-05

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหกรรมสุขภาพดี ชาวฝาละมียั่งยืน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่เขตรับผิดชอบ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหกรรมสุขภาพดี ชาวฝาละมียั่งยืน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหกรรมสุขภาพดี ชาวฝาละมียั่งยืน " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่เขตรับผิดชอบ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L3338-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 กุมภาพันธ์ 2566 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 417,760.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างสุขภาพ ถือเป็นกลยุทธ์ทางสุขภาพที่กำลังได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง ซึ่งจะช่วยกระตุ้นและส่งเสริมให้บุคคลเกิดพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลโดยตรง ต่อสุขภาพของบุคคลช่วยลดอัตราป่วยด้วยโรคต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคอันเกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงไป เช่น โรคหัวใจ และหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคเครียดและโรคมะเร็ง สาเหตุที่พบอุบัติการณ์ของโรคเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากกระบวนการสร้างสุขภาพ ไม่เพียงแต่เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการให้การศึกษาด้านสุขภาพเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับการสนับสนุนด้านสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้เกิดผลในการปฏิบัติและสถานการณ์ในการดำรงชีวิตที่สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม บรรทัดฐานทางสังคม สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก็คือการดำเนินชีวิต ซึ่งจะก่อให้เกิดภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ของบุคคลและชุมชนน การแก้ไขด้วยวิธีคิด วิธีการ และองค์ความรู้เดิมจึงไม่เพียงพอ ทุกหน่วยงานจำเป็นต้องมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา อย่างมีระบบด้วยการสร้างสุขภาพ และด้วยภูมิปัญญาของชุมชนทั้งสังคม โดยการเน้นให้ประชาชน มีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง บริโภคอาหารปลอดภัย สะอาด และส่งเสริมสุขภาพจิตให้ประชาชนในแต่ละชุมชนรวมกลุ่มกันจัดกิจกรรมด้านสุขภาพ เพื่อให้ความสำคัญสร้างสุขภาพ เป็นศูนย์กลางและเป็นกลไกในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านสุขภาพสู่ประชาชน ส่งเสริมให้ประชาชนมีการออกกำลังกายและมีโภชนาการที่ดี เป็นการลดปัจจัยเสี่ยงง่ายๆด้วยต้นทุนต่ำ เพื่อป้องกันโรคต่าง ๆ อาทิ โรคเบาหวาน โรคหัวใจขาดเลือด โรคความดันโลหิตสูง ฯลฯไม่ให้เกิดขึ้นก่อนวัยอันควร ทำให้ประชาชนมีสมรรถภาพดี สามารถทำงานได้เต็มตามศักยภาพ ในการดูแลสุขภาพเพื่อก้าวสู่การมีสุขภาพดี คือ การให้ความรู้ทางด้านโภชนาการอาหาร การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ การดูแลสุขภาพจิตและลดพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ จะช่วยป้องกันโรคที่กล่าวมาแล้วทั้งหมดได้ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคให้ถูกชนิด ปริมาณและถูกเวลา ควรเลือกกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ให้หลากหลายและเพียงพอ ดูแลน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ที่พอเหมาะ ควบคู่ไปกับการออกกำลังกายสม่ำเสมอ เพื่อให้มีความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและชี้แจงกิจกรรมเพื่อวางแผนในการขับเคลื่อนโครงการฯ
  2. กิจกรรมรวมพล มหกรรมสุขภาพดี ชาวฝาละมียั่งยืน
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 180
กลุ่มวัยทำงาน 318
กลุ่มผู้สูงอายุ 110
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คณะผู้บริหารและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล 15
ผู้นำท้องที่ (จำนวน 11 หมู่บ้าน) 11
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 5
อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 200
เจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลฝาละมี 60

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพดี
  2. กลุ่มเป้าหมายเกิดทักษะและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเอง และครอบครัว
  3. กลุ่มเป้าหมายมีองค์ความรู้ที่ถูกต้อง ปรับทัศคติให้มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารอย่าง เหมาะสม ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและชี้แจงกิจกรรมเพื่อวางแผนในการขับเคลื่อนโครงการฯ

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวลา 09.00 - 10.00 น. ลงทะเบียน เวลา 10.00 - 11.00 น. ประธานกล่าวรายงาน เวลา 11.00 - 12.00 น. ชี้แจงรายละเอียดกิจกรรมอาหารเพื่อสุขภาพภายใต้โครงการเพื่อวางแผนในการขับเคลื่อนโครงการฯ
เวลา 13.30 - 14.30 น. ชี้แจงรายละเอียดกิจกรรมออกกำลังกายเพื่อสุขภาพภายใต้โครงการเพื่อวางแผนในการขับเคลื่อนโครงการฯ               
เวลา 14.30 - 16.30 น. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารและการดูแลสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย

 

400 0

2. กิจกรรมรวมพล มหกรรมสุขภาพดี ชาวฝาละมียั่งยืน

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมสุขภาพช่องปากดี
  2. กิจกรรมสุขภาพช่องปากดี
  3. กิจกรรมผ่อนคลายดี (นวดเพื่อสุขภาพ)
  4. กิจกรรมจัดนิทรรศการจากหน่วยงานสุขภาพในพื้นที่
  5. กิจกรรมออกกำลังกาย สุขภาพดี ชีวีเป็นสุข
  6. กิจกรรมสาธิตการเล่นกีฬาฟุตบอล 7 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพดี ทั้งทางร่างกายช่องปาก สุขลักษณะความสะอาด รวมถึงการใช้เวลาว่างเป็นประโยชน์ส่งเสริมการออกกำลังกาย

 

608 0

3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายของกลุ่มแกนนำ
  2. กิจกรรมการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้กลุ่มอาชีพแกนนำสุขภาพและผู้สูงอายุ ในการส่งเสริมสุขลักษณะ การผลิตอาหารปลอดภัย และการบริโภคอาหารที่มีคุณภาพตามหลักโภชนาการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการออกกำลังกาย

 

400 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 899 899
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 180 180
กลุ่มวัยทำงาน 318 318
กลุ่มผู้สูงอายุ 110 110
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คณะผู้บริหารและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล 15 15
ผู้นำท้องที่ (จำนวน 11 หมู่บ้าน) 11 11
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 5 5
อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 200 200
เจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลฝาละมี 60

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและชี้แจงกิจกรรมเพื่อวางแผนในการขับเคลื่อนโครงการฯ (2) กิจกรรมรวมพล มหกรรมสุขภาพดี ชาวฝาละมียั่งยืน (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมหกรรมสุขภาพดี ชาวฝาละมียั่งยืน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3338-02-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุชาดา ปาทะรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด