กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล


“ คนบ้านควนเจดีย์ปลอดภัย ใส่ใจการบริโภค ”

บ้านควนเจดีย์ ม.6 ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
1.นางพรทิพย์ คงพิทักษ์ 2.นางเรณู รักดำ 3.นางสนธราพร สาวะเดช 4.นางสาวมาริษา ทวีศิลป์ 5.นางแฉล้ม โกตัน

ชื่อโครงการ คนบ้านควนเจดีย์ปลอดภัย ใส่ใจการบริโภค

ที่อยู่ บ้านควนเจดีย์ ม.6 ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5192-2-08 เลขที่ข้อตกลง 66-L5192-2-08

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"คนบ้านควนเจดีย์ปลอดภัย ใส่ใจการบริโภค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านควนเจดีย์ ม.6 ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
คนบ้านควนเจดีย์ปลอดภัย ใส่ใจการบริโภค



บทคัดย่อ

โครงการ " คนบ้านควนเจดีย์ปลอดภัย ใส่ใจการบริโภค " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านควนเจดีย์ ม.6 ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5192-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,335.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปีงบประมาณ 2565 ที่ผ่านมา อาสาสมัครสาธารณสุขบ้านควนเจดีย์ ร่วมกับทางโรงพยาบลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าไทร ลงพื้นที่ทำกิจกรรมงานด้านคุ้มครองผู้บริโภคหลายกิจกรรม ทำให้เจอปัญหาสุขภาพและปัญหาด้านคุ้มครองผู้บริโภค ดังนี้ 1. การสำรวจร้านชำ 14 ร้าน มีร้านชำที่จำหน่ายสินค้าที่ปลอดภัยเพียง จำนวน 5 ร้าน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 35 2. ร้านแผงลอยและแผงลอนในโรงเรียน จำนวน 13 ร้าน ปลอดภัย 5 ร้านคิดเป็นร้อยละ 38และ 3. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ทั้งหมด 112 ราย ได้รับการเยี่ยมบ้านแค่ 56 ราย คิดเป็นร้อยละ 50 และในจำนวนดังกล่าวพบใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และยาที่ไม่ถูกต้อง จำนวน 14 ราย คิดเป็นร้อยละ 25ดังนั้นเพื่อให้เกิดการดูแลผู้ป่วยและประชาชนอย่างต่อเนื่่อง ทางกลุ่มจึงคิดจัดโครงการ "ควนบ้านควนเจดีย์ ปลอดภัย ใส่ใจการบริโภค"

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ร้านชำและแผงลอย ที่จำหน่ายอาหาร ยา เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์สุขภาพมีความปลอดภัยเพิ่มขึ้น
  2. ร้านแผงลอย ร้านจำหน่ายอาหารในโรงเรียนและโรงอาหารในโรงเรียนมีความปลอดภัยเพิ่มขึ้น
  3. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ได้รับการเยี่ยมบ้านเพื่อติดตามการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพเพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. เก็บรวบรวมข้อมูลร้านชำ แผงลอย ร้านจำหน่ายอาหารในโรงเรียและโรงอาหารในโรงเรียน
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการ อสม.คุ้มครอง บ้านควนเจดีย์และอสม.เครือข่าย
  3. อสม.คุ้มครอง บ้านควนเจดีย์ ลงพื้นที่เพื่อตรวจและเก็บตัวอย่างร้านชำ แผงลอย ร้านจำหน่ายอาหารในโรงเรียนและโรงอาหารในโรงเรียน
  4. จัดอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านชำ แผงลอย ร้านจำหน่ายอาหาร และโรงอาหารในโรงเรียน
  5. กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 135
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีร้านชำและแผงลอย ที่จำหน่ายอาหาร ยา เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์สุขภาพมีความปลอดภัยเพิ่มขึ้น 2.มีร้านแผงลอย ร้านจำหน่ายอาหารและโรงอาหารในโรงเรียน มีความปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น
  2. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการเยี่ยมบ้าน เพื่อติดตามการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพเพิ่มขึ้น
  3. เกิดภาคีเครือข่าย อสม.คุ้มครองผู้บริโภค
  4. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้เลือกซื้ออาหาร ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ร้านชำและแผงลอย ที่จำหน่ายอาหาร ยา เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์สุขภาพมีความปลอดภัยเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของร้านชำและแผงลอย จำหน่ายอาหาร ยา เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์สุขภาพมีความปลอดภัย
65.00 95.00

 

2 ร้านแผงลอย ร้านจำหน่ายอาหารในโรงเรียนและโรงอาหารในโรงเรียนมีความปลอดภัยเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของร้านแผงลอย ร้านจำหน่ายอาหารในโรงเรียนและโรงอาหารในโรงเรียนมีความปลอดภัยเพิ่มขึ้น
62.00 95.00

 

3 ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ได้รับการเยี่ยมบ้านเพื่อติดตามการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ได้รับการเยี่ยมบ้านเพื่อติดตามการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
75.00 95.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1455
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 135
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 120
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ร้านชำและแผงลอย ที่จำหน่ายอาหาร ยา เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์สุขภาพมีความปลอดภัยเพิ่มขึ้น (2) ร้านแผงลอย ร้านจำหน่ายอาหารในโรงเรียนและโรงอาหารในโรงเรียนมีความปลอดภัยเพิ่มขึ้น (3) ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ได้รับการเยี่ยมบ้านเพื่อติดตามการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพเพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. เก็บรวบรวมข้อมูลร้านชำ แผงลอย ร้านจำหน่ายอาหารในโรงเรียและโรงอาหารในโรงเรียน (2) อบรมเชิงปฏิบัติการ อสม.คุ้มครอง บ้านควนเจดีย์และอสม.เครือข่าย (3) อสม.คุ้มครอง บ้านควนเจดีย์ ลงพื้นที่เพื่อตรวจและเก็บตัวอย่างร้านชำ แผงลอย ร้านจำหน่ายอาหารในโรงเรียนและโรงอาหารในโรงเรียน (4) จัดอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านชำ แผงลอย ร้านจำหน่ายอาหาร และโรงอาหารในโรงเรียน (5) กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


คนบ้านควนเจดีย์ปลอดภัย ใส่ใจการบริโภค จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5192-2-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1.นางพรทิพย์ คงพิทักษ์ 2.นางเรณู รักดำ 3.นางสนธราพร สาวะเดช 4.นางสาวมาริษา ทวีศิลป์ 5.นางแฉล้ม โกตัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด