กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาขาว


“ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรกัญชา เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ ”

ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเนตรชนก จันทร์พุ่ม

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรกัญชา เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์

ที่อยู่ ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1527-01-08 เลขที่ข้อตกลง 10/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรกัญชา เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรกัญชา เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรกัญชา เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1527-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,235.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูเเลสุขภาพตนเอง เป็นสิ่งสำคัญประการเเรกที่ทุกคนต้องดูเเลสุขภาพของตนเองในทุกวัย องค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศว่า สุขภาพดีนั้นมิใช่เพียงการไม่มีโรคเท่านั้นเเต่ต้องครอบคลุมการดูเเลสุขภาพทั้ง 4 ด้าน ได้เเก่ ร่า่งกาย จิตใจ สังคมสิ่งเเวดล้อม เเละจิตวิญญาณ ทุกคนต้องการที่จะดูเเลตนเองให้มีสุขภาพดีอยู่เสมอ กล่าวได้ว่า การดูเเลสุขภาพตนเองเป็นกิจกรรมที่บุคคลเเต่ละคนปฏิบัติ เเละยึดเป็นเเบบเเผนในการปฏิบัติเพื่อให้มีสุขภาพที่ดี โดยการดูเเลสุขภาพตนเองนั้น จำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูเเลสุขภาพตั้งเเต่ยังไม่เจ็บป่วย เพื่อบำรุงรักษาตนเองให้สมบูรณ์ เเข็งเเรง รู้จักที่จะป้องกันตัวเอง มิให้เกิดฌโรค เเละเมื่อเจ็บปาวยก็รู้วิธีที่จะรักษาตัวเองเบื้องต้นจนหายเป็นปกติ หรือรู้ว่าเมื่อไรต้องไปพบเเพทย์ ในปัจจุบันการเเพทย์เเผนไทยมีบทบาทมากขึ้นในการเข้าถึงระบบสุขภาพของประชาชน ในทางเดียวกันประชาชนก็เริ่มหันมาให้ความสนใจในศาสตร์ด้านการเเพทย์เเผนไทยเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการเเพทย์เเผนปัจจุบันเพียงระบบเดียวไม่สามารถตอบสนองปัญหาด้าสุขภาพได้อย่างครอบคลุม จำเป็นต้องนำเอาการเเพทย์พื้นบ้านมาเป็นทางเลือกในการดูเเลรัะกษาสุขภาพ จึงเป็นเรื่องที่ดีของประชาชน หากได้รับความรู้ัเกี่ยวกับสมุนไพรในการดูเเลสุขภาพตนเองเบื้องอย่างถูกต้องเพราะจะทำให้ประชาชนพึ่งพาตนเองได้มากขึ้นเมื่อยามเจ็บป่วย ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาวมุ่งหวังให้เเกนนำครอบครัวมีทักษะความรู้ในการดูเเล ป้องกัน รักษาสุขภาพตนเองเเละคนในครอบครัวด้วยสมุนไพรอย่างถูกต้องสามารถนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาเเปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ให้เกิดประโยชน์ได้ อีกทั้งเพื่อให้เเกนนำครัวเรือนรู้จักคุณค่าของสมุนไพรไทย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้แกนนำครัวเรือน ได้รับความรู้ ประโยชน์และข้อควรระวัง ในการใช้พืชสมุนไพรกัญชา
  2. 2.เพื่อส่งเสริมให้แกนนำครัวเรือนนำสมุนไพรกัญชามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรกัญชาเพื่อประโยชน์ทางการเเพทย์
  2. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องกัญชา
  3. 2.กิจกรรมสาธิตการทำผลิตภัณฑ์กัญชา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรกัญชา เเละมีอัตราการใช้ยาคลายกล้ามเนื้อที่ลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้แกนนำครัวเรือน ได้รับความรู้ ประโยชน์และข้อควรระวัง ในการใช้พืชสมุนไพรกัญชา
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรกัญชา
90.00

 

2 2.เพื่อส่งเสริมให้แกนนำครัวเรือนนำสมุนไพรกัญชามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 65 อัตราการใช้ยาคลายกล้ามเนื้อลดลง
65.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้แกนนำครัวเรือน ได้รับความรู้ ประโยชน์และข้อควรระวัง ในการใช้พืชสมุนไพรกัญชา (2) 2.เพื่อส่งเสริมให้แกนนำครัวเรือนนำสมุนไพรกัญชามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรกัญชาเพื่อประโยชน์ทางการเเพทย์ (2) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องกัญชา (3) 2.กิจกรรมสาธิตการทำผลิตภัณฑ์กัญชา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพรกัญชา เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1527-01-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเนตรชนก จันทร์พุ่ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด