โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ประจำปี พ.ศ.2566
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ประจำปี พ.ศ.2566 ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวขนิษฐา แพมิ่ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ประจำปี พ.ศ.2566
ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4141-01-02 เลขที่ข้อตกลง 004/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ประจำปี พ.ศ.2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ประจำปี พ.ศ.2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ประจำปี พ.ศ.2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4141-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 47,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ค่านิยมในการบริโภคและวิถีการดำเนินชีวิตของคนไทยเปลี่ยนแปลงไปได้รับอิทธิพลจากตะวันตกตามกระแสบริโภคนิยมและวัตถุนิยม ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น การบริโภคอาหารโปรตีน อาหารรสหวาน อาหารเค็มและไขมันสูงที่ส่งผลข้างเคียงต่อสุขภาพ โดยเฉพาะการรับประทานอาหารที่มีเนื้อสัตว์ล้วน ๆ อาหารรสจัด เช่นมันจัด หวานจัด เค็มจัด กินผักและผลไม้น้อย เดินน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย โดยเริ่มตั้งแต่วัยเด็กจนถึงคนวัยสูงอายุทำให้พลังงานในร่างกายไม่สมดุลกันระหว่างการได้รับเข้ามากับการใช้ไป ร่างกายจึงเปลี่ยนพลังงานที่เหลือใช้กลับไปเป็นไขมันสะสมไว้ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย หากไม่รีบควบคุมและแก้ไขปัญหาดังกล่าว จะทำให้เกิดปัญหาสุขภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาวได้เป็นปัจจัยเสี่ยงทำให้เกิดโรคต่าง ๆ ตามมาได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด นิ่วในถุงน้ำดี และมะเร็ง โดยเฉพาะโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมที่สะสมเป็นเวลาหลายปี แต่ละปีมีผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น กระทรวงสาธารณสุขให้ความสำคัญกับโรคเรื้อรังดังกล่าว เนื่องจากมีผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นและมีผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนมากขึ้น เช่นโรคหัวใจ ภาวะแทรกซ้อนทางไต ตา ประสาท และเท้า เป็นต้นพบว่าอัตราการเสียชีวิตและทุพพลภาพจะเพิ่มขึ้นทุกปีเช่นกัน ซึ่งโรคเรื้อรังเป็นสาเหตุการเสียชีวิตซึ่งก็คือโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงดังนั้นประชาชนกลุ่มเสี่ยงจึงควรมีการปรับเปลี่ยนทั้งพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย เพื่อให้มีการใช้พลังงานให้สมดุลกัน ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง การจัดโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ พิชิตอ้วน พิชิตพุง เพื่อให้มีการปรับพฤติกรรมการบริโภคและพฤติกรรมการออกกำลังกายในการควบคุมภาวะน้ำหนักเกินที่ถูกต้อง
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพของประชาชนตำบลลำใหม่ เพื่อให้มีสุขภาพที่ดีและแข็งแรง ประกอบกับตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงปัจจุบัน (ฉบับที่ 6 พ.ศ.2552 มาตรา 67 (3) องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่ในการป้องกันโรคและระงับโรคไม่ติดต่อ และตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒อำนาจหน้าที่ตามมาตรา 16 (19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่จึงมีความจำเป็นต้องให้ความรู้ให้กับประชาชนในการดูแลสุขภาพในการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน เพื่อลดโรค ลดพุง ปรับสมดุลเพื่อสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนในตำบลลำใหม่มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีสุขภาพที่แข็งแรง ”ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมองค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ จึงขอรับเงินสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลลำใหม่ ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนในตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) มีความรู้ในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
- เพื่อให้ประชาชนในตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ทำให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน
- เพื่อลดอัตราการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานของประชาชนในตำบลลำใหม่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
16
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) มีความรู้ในการดูแลสุขภาพในการป้องกันความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน
2.ประชาชนตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) รู้จักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานลดลง
3.อัตราการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานของประชาชนในตำบล-ลำใหม่ลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 07:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงให้กับประชาชนในตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ตำบลลำใหม่ และอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนกลุ่มตัวอย่างในการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนเพื่อลดโรค ติดตามผลการเข้าร่วมโครงการ โดยการตรวจวัดปริมาณน้ำตาลในเลือดและวัดความดันโลหิตสูง ในห้วงระหว่าง 1-3 เดือน หลังการอบรม ซึ่งหากพบว่ามีปริมาณน้ำตาลในเลือด และความดันโลหิตสูง ก็จะได้แจ้งให้ทราบและเข้าพบแพทย์เพื่อทำการรักษาต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ประชาชนตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) มีความรู้ในการดูแลสุขภาพในการป้องกันความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน
2.ประชาชนตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) รู้จักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานลดลง
3.อัตราการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานของประชาชนในตำบลลำใหม่ลดลง
86
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนในตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) มีความรู้ในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ประชาชนในตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ทำให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อลดอัตราการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานของประชาชนในตำบลลำใหม่
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
86
86
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
16
16
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
70
70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) มีความรู้ในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (2) เพื่อให้ประชาชนในตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ทำให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน (3) เพื่อลดอัตราการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานของประชาชนในตำบลลำใหม่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ประจำปี พ.ศ.2566 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4141-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวขนิษฐา แพมิ่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ประจำปี พ.ศ.2566 ”
ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวขนิษฐา แพมิ่ง
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4141-01-02 เลขที่ข้อตกลง 004/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ประจำปี พ.ศ.2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ประจำปี พ.ศ.2566
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ประจำปี พ.ศ.2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4141-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 47,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ค่านิยมในการบริโภคและวิถีการดำเนินชีวิตของคนไทยเปลี่ยนแปลงไปได้รับอิทธิพลจากตะวันตกตามกระแสบริโภคนิยมและวัตถุนิยม ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น การบริโภคอาหารโปรตีน อาหารรสหวาน อาหารเค็มและไขมันสูงที่ส่งผลข้างเคียงต่อสุขภาพ โดยเฉพาะการรับประทานอาหารที่มีเนื้อสัตว์ล้วน ๆ อาหารรสจัด เช่นมันจัด หวานจัด เค็มจัด กินผักและผลไม้น้อย เดินน้อยลง ขาดการออกกำลังกาย โดยเริ่มตั้งแต่วัยเด็กจนถึงคนวัยสูงอายุทำให้พลังงานในร่างกายไม่สมดุลกันระหว่างการได้รับเข้ามากับการใช้ไป ร่างกายจึงเปลี่ยนพลังงานที่เหลือใช้กลับไปเป็นไขมันสะสมไว้ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย หากไม่รีบควบคุมและแก้ไขปัญหาดังกล่าว จะทำให้เกิดปัญหาสุขภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาวได้เป็นปัจจัยเสี่ยงทำให้เกิดโรคต่าง ๆ ตามมาได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด นิ่วในถุงน้ำดี และมะเร็ง โดยเฉพาะโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมที่สะสมเป็นเวลาหลายปี แต่ละปีมีผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น กระทรวงสาธารณสุขให้ความสำคัญกับโรคเรื้อรังดังกล่าว เนื่องจากมีผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นและมีผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนมากขึ้น เช่นโรคหัวใจ ภาวะแทรกซ้อนทางไต ตา ประสาท และเท้า เป็นต้นพบว่าอัตราการเสียชีวิตและทุพพลภาพจะเพิ่มขึ้นทุกปีเช่นกัน ซึ่งโรคเรื้อรังเป็นสาเหตุการเสียชีวิตซึ่งก็คือโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงดังนั้นประชาชนกลุ่มเสี่ยงจึงควรมีการปรับเปลี่ยนทั้งพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย เพื่อให้มีการใช้พลังงานให้สมดุลกัน ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง การจัดโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ พิชิตอ้วน พิชิตพุง เพื่อให้มีการปรับพฤติกรรมการบริโภคและพฤติกรรมการออกกำลังกายในการควบคุมภาวะน้ำหนักเกินที่ถูกต้อง
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพของประชาชนตำบลลำใหม่ เพื่อให้มีสุขภาพที่ดีและแข็งแรง ประกอบกับตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงปัจจุบัน (ฉบับที่ 6 พ.ศ.2552 มาตรา 67 (3) องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่ในการป้องกันโรคและระงับโรคไม่ติดต่อ และตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒อำนาจหน้าที่ตามมาตรา 16 (19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่จึงมีความจำเป็นต้องให้ความรู้ให้กับประชาชนในการดูแลสุขภาพในการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน เพื่อลดโรค ลดพุง ปรับสมดุลเพื่อสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนในตำบลลำใหม่มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีสุขภาพที่แข็งแรง ”ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมองค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ จึงขอรับเงินสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลลำใหม่ ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนในตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) มีความรู้ในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
- เพื่อให้ประชาชนในตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ทำให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน
- เพื่อลดอัตราการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานของประชาชนในตำบลลำใหม่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 16 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 70 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) มีความรู้ในการดูแลสุขภาพในการป้องกันความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน
2.ประชาชนตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) รู้จักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานลดลง
3.อัตราการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานของประชาชนในตำบล-ลำใหม่ลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน |
||
วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 07:30 น.กิจกรรมที่ทำตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงให้กับประชาชนในตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ตำบลลำใหม่ และอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนกลุ่มตัวอย่างในการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนเพื่อลดโรค ติดตามผลการเข้าร่วมโครงการ โดยการตรวจวัดปริมาณน้ำตาลในเลือดและวัดความดันโลหิตสูง ในห้วงระหว่าง 1-3 เดือน หลังการอบรม ซึ่งหากพบว่ามีปริมาณน้ำตาลในเลือด และความดันโลหิตสูง ก็จะได้แจ้งให้ทราบและเข้าพบแพทย์เพื่อทำการรักษาต่อไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ประชาชนตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) มีความรู้ในการดูแลสุขภาพในการป้องกันความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน 2.ประชาชนตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) รู้จักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานลดลง 3.อัตราการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานของประชาชนในตำบลลำใหม่ลดลง
|
86 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนในตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) มีความรู้ในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ประชาชนในตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ทำให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อลดอัตราการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานของประชาชนในตำบลลำใหม่ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 86 | 86 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 16 | 16 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 70 | 70 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) มีความรู้ในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (2) เพื่อให้ประชาชนในตำบลลำใหม่ (กลุ่มตัวอย่าง) เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ทำให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน (3) เพื่อลดอัตราการเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานของประชาชนในตำบลลำใหม่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและป้องกันโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ประจำปี พ.ศ.2566 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4141-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวขนิษฐา แพมิ่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......