กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต


“ โครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดีอบต.บูกิค ประจำปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซูฮัยลา ยูโซะ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดีอบต.บูกิค ประจำปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2479-01-12 เลขที่ข้อตกลง 12/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดีอบต.บูกิค ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดีอบต.บูกิค ประจำปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดีอบต.บูกิค ประจำปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2479-01-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 92,925.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

1 จำนวนประชาชนสร้างครอบครัวใหม่ให้เป็นครอบครัวอบอุ่นครอบครัวแข็งแรง (คน) 2 จำนวนประชาชน ครอบครัว มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี (คน) หลักการและเหตุผล ครอบครัวจัดได้ว่าเป็นสถาบันที่เล็กที่สุดและเป็นสถาบันพื้นฐานของมนุษย์ หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นสถาบันเริ่มต้นของสังคมทุกสังคม ดังนั้นสถาบันครอบครัว จึงมีความสำคัญในการพัฒนามนุษย์ไปสู่สังคมในรูปแบบใดก็ได้ ถ้าสถาบันครอบครัวมีความอบอุ่น สมาชิกในครอบครัวย่อมมีความสุข และมีสุขภาพดีทุกมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมิติด้านจิตใจ สังคมและจิตวิญญาณที่ดี หากทุกครอบครัวในชุมชนแห่งใด แห่งหนึ่งเป็นครอบครัวที่อบอุ่น ย่อมจะทำให้ชุมชนอบอุ่นหรือชุมชนแข็งแรงและต่อเนื่องไปถึงเมืองไทยแข็งแรงไปด้วย การที่จะสร้างความรักความอบอุ่นช่วงที่มีการตั้งครรภ์ เพราะเป็นช่วงที่มีการเอาใจใส่ที่ดีเยี่ยม ทำให้มารดาได้รับการเอาใจใส่มากขึ้น ปัจจุบันครอบครัวไทยเปลี่ยนแปลงรูปแบบครอบครัวจากเดิมที่ส่วนใหญ่เป็นครอบครัวขยาย มีสมาชิกในครอบครัว 3 ช่วงอายุ กลายเป็นครอบครัวเดี่ยวที่เหลือเพียงพ่อแม่ลูกเท่านั้น และนับวันยิ่งมีขนาดเล็กลง จำนวนบุตรเฉลี่ยเหลือเพียง 1.5 คนต่อครอบครัว คณะรัฐมนตรีจึงมีมติกำหนดให้ทุกวันอาทิตย์เป็นวัน "ครอบครัวแข็งแรง" เพื่อสมาชิกจะได้อยู่ทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน ครอบครัวอบอุ่น คือครอบครัวที่สมบูรณ์แบบ การ มีครอบครัวที่อบอุ่นทำให้เราดำเนินชีวิตได้อย่างปกติสุข คนที่มีครอบครัวอบอุ่นย่อมมีความได้เปรียบ เพราะสามารถ ทำหน้าที่ได้เหมาะสม และทำให้สมาชิกในครอบครัวมีสุขภาพจิตดีไปด้วย อบต.บูกิตได้ตระหนักเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้มีสุขภาพดีทุกมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมิติด้านจิตใจ สังคมและจิตวิญญาณที่ดี จึ่งร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบูกิต จัดทำโครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี อบต.บูกิตประจำปี 2566 ขึ้นมา เพื่อให้ประชาชน ครอบครัวมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี อันจะเป็นแนวทางในการสร้างชุมชนเข้มแข็งต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประชาชนให้มีความพร้อมในการสร้างครอบครัวให้เป็นครอบครัวอบอุ่นครอบครัวแข็งแรง
  2. เพือให้ประชาชนมีครอบครัวที่มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ สำรวจ คัดกรอง ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่กำลังสร้างครอบครัวใหม่หรือมีสมาชิกและประชาชนทั่วไปที่สนใจ
  2. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี ในหมู๋ที่ 1,2,3,9,14
  3. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี ในหมู่ที่ 4,5,8,13
  4. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้การสร้างครอบครัวสุขภาพดี ในหมู่ที่ 6,7,10,11,12

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความพร้อมในการสร้างครอบครัวใหม่ให้เป็นครอบครัวอบอุ่นแข็งแรง 2.ทุกครอบครัวเป็นครอบครัวอบอุ่น ครอบครัวแข็งแรง 3.ประชาชน ครอบครัวในตำบลบูกิตมีสุขภาพร่างกายและจิตที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ สำรวจ คัดกรอง ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่กำลังสร้างครอบครัวใหม่หรือมีสมาชิกและประชาชนทั่วไปที่สนใจ

วันที่ 21 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการขนาด 1.5 x 3 เมตร ๆละ 250 เป็นเงิน 1,125 บาท
ค่าถ่ายเอกสารใบสมัครและใบเชิญเข้าร่วมโครงการ แบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2 คำถาม 2(2Q) จำนวน 600 ชุด x 5 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถคัดกรองโรคซึมเศร้าด้วยตนเองได้

 

100 0

2. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี ในหมู๋ที่ 1,2,3,9,14

วันที่ 21 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 100 คน ๆ ละ 25 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 5,000 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน พร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 100 คน ๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน 6,000  บาท
  • ค่าตอบแทนวิทยากร 600 บาท x 6 ชม. เป็นเงิน 3,600 บาท
  • ค่าวัสดุสำนักงาน (กระเป๋า,สมุด,ปากกา) จำนวน 100 คน ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนครอบครัวในตำบลบูกิตมีสุขภาพร่างกายและจิตที่ดี

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประชาชนให้มีความพร้อมในการสร้างครอบครัวให้เป็นครอบครัวอบอุ่นครอบครัวแข็งแรง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพือให้ประชาชนมีครอบครัวที่มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชาชนให้มีความพร้อมในการสร้างครอบครัวให้เป็นครอบครัวอบอุ่นครอบครัวแข็งแรง (2) เพือให้ประชาชนมีครอบครัวที่มีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ สำรวจ คัดกรอง ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่กำลังสร้างครอบครัวใหม่หรือมีสมาชิกและประชาชนทั่วไปที่สนใจ (2) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี ในหมู๋ที่ 1,2,3,9,14 (3) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดี ในหมู่ที่  4,5,8,13 (4) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้การสร้างครอบครัวสุขภาพดี ในหมู่ที่ 6,7,10,11,12

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเพิ่มความรู้สร้างครอบครัวสุขภาพดีอบต.บูกิค ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2479-01-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซูฮัยลา ยูโซะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด