กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการอนามัยโรงเรียนกิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้นำเด็กและเยาวชนเพื่อป้องกันและควบคุมโรคต่างๆ ที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ (อสม.น้อย) ปีงบประมาณ 2566

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีความรู้ความเข้าใจโรคติดต่อและไม่ติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีความรู้ความเข้าใจโรคติดต่อ/ไม่ติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ โดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน

 

 

 

2 เพื่อให้ค้นหานักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1-6 มีความรู้ความเข้าใจโรคติดต่อและไม่ติดต่อที่มียุงเป็นพาหะและสามารถเป็นแกนนำ ( อสม.น้อย)ของโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 เจ้าหน้าที่สามารถค้นหานักเรียนเป็นแกนนำ(อสม.น้อย) ของโรงเรียนได้ตามเป้าหมาย (จำนวน36 คน)

 

 

 

3 เพื่อให้โรงเรียนเป็นเขตปลอดยุง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 โรงเรียนเป็นเขตปลอดยุงและได้รับรางวัลสถานศึกษาปลอดยุง ระดับ ดีเยี่ยม