กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กแรกเกิด-5ปี ในเขตรับผิดชอบตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปี 2566
รหัสโครงการ 66-L1535-1-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
วันที่อนุมัติ 26 มกราคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 31 สิงหาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 31 กรกฎาคม 2566
งบประมาณ 11,838.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวรัตติยา สีสุข
พี่เลี้ยงโครงการ นางทัศนีย์ ดำปิน
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 97 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 97 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กเล็ก(0-3 ปี) ได้รับฉีดวัคซีนครบตามหลักเกณฑ์
100.00
2 ร้อยละของเด็กเล็ก (2-6ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
100.00
3 ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีปัญหาฟันผุ
20.00
4 ร้อยละของเด็กเล็ก (0-6ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า
0.00
5 ร้อยละของเด็กเล็ก (0-6ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า
0.00
6 ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
0.00
7 ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีคัดกรองพบภาวะสายตาสั้นและเอียง
50.00
8 ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)ที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำ
0.00
9 ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย
0.00
10 ร้อยละของเด็กเล็ก 2-6 ปี ที่เป็นโรคมือเท้าปากระบาด
2.00
11 จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพในเขตอำเภอห้วยยอด เด็กช่วงอายุ ๓ ปีถึง ๓ ปี ๑๑ เดือน ข้อมูลเปรียบเทียบร้อยละของเด็ก ๓ ปีฟันน้ำนมผุ ในปี ๒๕๖๑ , ๒๕๖๒ และ ปี ๒๕๖๓ มีฟันน้ำนมผุร้อยละ ๔๕.๖ , ๔๒.๖ และ ๓๙.๒๕ ตามลำดับ ในการแก้ปัญหาในเด็กเล็กมีงานวิชาการมากมายที่สนั
80.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามผลการเกิดฟันผุในเด็ก แรกเกิด ถึง ๒ ปี 2. เพื่อกระตุ้นให้ผู้ปกครองทราบปัญหาสุขภาพช่องปากและเพิ่มทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กแรกเกิด ถึง ๒ ปี. 3. เพื่อป้องกันการเกิดโรคฟันผุเบื้องต้นและเฝ้าระวังติดตามผลในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4.เพื่อสาธิตการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันที่ถูกวิธีในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

1.ร้อยละ 50 ของเด็ก 0-5 ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 2. ร้อยละ 50 ของผู้ปกครองได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติ และ plaque control 3.ร้อยละ 50 ของเด็กอายุ 3 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและวางแผนการรักษา/ได้รับการเคลือบทาฟลูออไรด์เฉพาะที่

97.00 100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 11,838.00 0 0.00
1 มี.ค. 66 - 30 มิ.ย. 66 ตรวจสุขภาพช่องปากและประเมินปัจจัยเสี่ยงของเด็กแรกเกิด-5ปี 0 650.00 -
1 มี.ค. 66 - 30 มิ.ย. 66 ให้ความรู้ทันตสุขภาพและฝึกทักษะสาธิตการแปรงฟันแบบปฏิบัติจริงแก่ผุ้ปกครองเด็กแรกเกิด-5 ปี 0 2,000.00 -
1 มี.ค. 66 - 30 มิ.ย. 66 สาธิตการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันที่ถูกวิธีในเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 0 3,888.00 -
1 เม.ย. 66 - 30 มิ.ย. 66 ทาฟูออไรด์วานิชป้องกันฟันผุในเด็กอายุ 9 เดือน - 5ปี 0 5,300.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ ในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก
  2. ในเด็ก ๐ - ๕ ปี มีฟันผุลดลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ม.ค. 2566 00:00 น.