กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80
3.00 1.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพของชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ให้มีศักยภาพในการดำเนินงานส่งเสริมงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80
3.00 1.00

 

3 เพื่อสร้างการบริการเชิงรุก ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การรักษา และการฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้กลไกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : ร้รอยละ80
4.00 1.00

 

4 เพื่อพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ให้มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
ตัวชี้วัด : ร้อยละ100
2.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 64
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
วิทยากร 3
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลลางา 50
เจ้าหน้าที่รพ.สต.ลางา 11

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพของชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ให้มีศักยภาพในการดำเนินงานส่งเสริมงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (3) เพื่อสร้างการบริการเชิงรุก ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การรักษา และการฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้กลไกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (4) เพื่อพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ให้มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ พัฒนาศักยภาพและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยในหัวข้อความรู้ดังนี้ 1.1 ความรู้ด้านสุขภาพในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น 1.2 ความรู้ด้านนักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย 1.3ความรู้ด้านการออกกำลังกาย 1.4 ความรู้ด้านการป้องกันและควบคุมโรคในชุมชน จำนวน3วัน (2) พัฒนาสมรรถนะอสม.ในการเป็นแกนนำด้านสุขภาพและมีศักยภาพในการเป็นนักจัดการสุขภาพครอบคลุม 5มิติในพื้นที่ (3) เวทีนำเสนอผลลัพธ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกระบวนการดูแลประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะกลุ่มที่มีปัญหาเฉพาะด้าน เช่น ติดเตียง เปราะบาง ไร้คนดูแล (4) ติดตาม/ประเมินผล และถอดบทเรียนการดำเนินงาน จำนวน2ครั้ง 1.เจ้าหน้าที่พี่เลี้ยงติดตาม/ประเมินผล การฝึกปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หลังจากฝึกปฏิบัติงาน1เดือน 2.ถอดบทเรียนหลังการปฏิบัติงาน หลังจากกิจกรรมติดตาม/ประเมินผล3เดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh