กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการติดตามดูแลหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดโดยแกนนำชุมชน(แม่อาสา) ปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 66 - L8426 - 1 - 05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไผ่
วันที่อนุมัติ 9 มกราคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2566 - 31 สิงหาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 15 กันยายน 2566
งบประมาณ 28,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ น.ส.อริสสา อิสลามพิทักษ์กุล
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.283,101.775place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของหญิงฝากครรภ์ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง

หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ จำนวน 61 คน

60.39
2 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ที่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์

หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ ก่อน 12 สัปดาห์ จำนวน 41 คน

40.59

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากผลการดำเนินงานดูแลหญิงตั้งครรภ์ พบว่าหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 60.39 หญิงตั้งครรภ์รายใหม่เข้ารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกน้อยกว่า อายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 40.59 ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามมาตรฐานการดูแลหญิงตั้งครรภ์ และยังส่งผลให้สุขภาพของมารดาและบุตร ไม่แข็งแรง เนื่องจากไม่ได้รับการส่งเสริมและดูแลที่ดี ตามระยะไตรมาสของการตั้งครรภ์ ส่งผลให้มีปัญหาในระยะยาวต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง

ร้อยละของหญิงฝากครรภ์ ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง เพิ่มขึ้น

60.39 100.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์

ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (เพิ่มขึ้น)

40.59 100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.พ. 66มี.ค. 66เม.ย. 66พ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66
1 ประชุม(14 ก.พ. 2566-14 ก.พ. 2566) 2,500.00              
2 อบรมแกนนำแม่อาสา(20 ก.พ. 2566-21 ก.พ. 2566) 22,050.00              
3 ประชุมสรุปและติดตามการดำเนินงาน(3 เม.ย. 2566-28 ส.ค. 2566) 3,750.00              
รวม 28,300.00
1 ประชุม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 70 2,500.00 0 0.00
14 ก.พ. 66 ประชุมคณะทำงาน 70 2,500.00 -
2 อบรมแกนนำแม่อาสา กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 100 22,050.00 0 0.00
20 ก.พ. 66 ให้ความรู้เรื่องหญิงตั้งครรภ์ 50 13,450.00 -
21 ก.พ. 66 ให้ความรู้เรื่องหญิงตั้งครรภ์ 50 8,600.00 -
3 ประชุมสรุปและติดตามการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 150 3,750.00 0 0.00
25 เม.ย. 66 ประชุมสรุปและติดตามการดำเนินงาน 50 1,250.00 -
26 มิ.ย. 66 ประชุมสรุปและติดตามการดำเนินงาน 50 1,250.00 -
21 ส.ค. 66 ประชุมสรุปและติดตามการดำเนินงาน 50 1,250.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. แกนนำแม่อาสา มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์ปกติ และหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อน และสามารถดูแล และประเมินหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงเบื้องต้น เพื่อส่งต่อแก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้
  2. แกนนำแม่อาสา สามารถดูแล และติดตามหญิงตั้งครรภ์เข้ารับบริการฝากครรภ์ตามเกณฑ์มาตรฐาน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ม.ค. 2566 11:45 น.