กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน


“ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำออกกำลังกายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยบ้านป่าแก่ ปี 2566 ”

ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางลักษณา ทองรุ่ง

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำออกกำลังกายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยบ้านป่าแก่ ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1483-02-15 เลขที่ข้อตกลง 19/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 31 มีนาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำออกกำลังกายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยบ้านป่าแก่ ปี 2566 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำออกกำลังกายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยบ้านป่าแก่ ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำออกกำลังกายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยบ้านป่าแก่ ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1483-02-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 31 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การออกกำลังกายทำให้หัวใจแข็งแรง หัวใจถือเป็นกล้ามเนื้อส่วนหนึ่ง และเช่นเดียวกันกับกล้ามเนื้อส่วนอื่น เมื่อออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอก็จะทำให้มีการตอบสนองที่แข็งแรงดีและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจในอนาคต ช่วยให้เลือดหมุนเวียนได้อย่างดี ช่วยลดความเสี่ยงโรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมองได้ ทำให้ปอดแข็งแรง ช่วยส่งออกซิเจนและสารอาหารต่างๆ ไปยังเนื้อเยื่อและช่วยให้ระบบสูบฉีดเลือดจากหัวใจและของหลอดเลือดทำงานได้ดีและเมื่อปอดทำงานได้ดี ก็จะรู้สึกสดชื่นและกระฉับกระเฉง การออกกำลังกายช่วยลดระดับน้ำตาลในร่างกายได้ จึงเป็นการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดซึ่งเป็นสาเหตุของโรคเบาหวานได้การออกกำลังกายช่วยควบคุมน้ำหนัก เมื่อเริ่มออกกำลังกายร่างกายก็เกิดการเผาผลาญแคลอรี่ ยิ่งออกกำลังกายหนักมากก็ยิ่งเผาผลาญได้มากขึ้น นอกจากทำให้ห่างไกลโรคอ้วนและเบาหวานแล้ว ยังทำให้ได้รูปร่างที่ดีอีกด้วย การออกกำลังกายทำให้กระดูกแข็งแรง เพิ่มความหนาแน่นของกระดูกซึ่งช่วยป้องกันโรคกระดูกพรุน ซึ่งเป็นภาวะที่กระดูกมีรูพรุนและเปราะบาง ผู้ที่ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอจะมีโอกาสเกิดมะเร็งน้อย การออกกำลังกายช่วยควบคุมความดันโลหิต สามารถลดระดับความเครียดได้ ในขณะที่ระดับความเครียดในร่างกายลดลง ความดันโลหิตและความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจก็ลดลงตามไปด้วย การออกกำลังกายช่วยเพิ่มพลังงานได้ หากออกกำลังกายอยู่เป็นประจำจะทำให้รู้สึกกระฉับกระเฉง ตื่นตัว ตลอดทั้งวัน การออกกำลังกายทำให้รู้สึกมีความสุขยิ่งขึ้น เมื่อออกกำลังกาย ร่างกายจะหลั่งสารโดพามีน ซึ่งคือสารเคมีในสมองเป็นสารสื่อประสาทที่คอยทำหน้าที่เกี่ยวกับความรู้สึกดี ความสุข ซึ่งสารดังกล่าวนั้นหลั่งได้มากขึ้นขณะออกกำลังกาย การออกกำลังกายเพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด ควรเป็นการออกกำลังกายแบบแอโรบิก (AEROBIC EXERCISE) คือการออกกำลังกายที่กล้ามเนื้อใช้ออกซิเจนในการสร้างพลังงานขณะออกกำลังกาย และเป็นการออกกำลังกายที่ใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ เช่น แขน ขา ไปพร้อมๆ กัน ทำต่อเนื่องไม่หยุด 20 นาทีเป็นอย่างน้อย การจะให้ได้ผลทางด้านสุขภาพต้องออกกำลังกายไม่น้อยกว่าครั้งละ 20-30 นาที สัปดาห์ละ 3-5 ครั้ง
ชมรมอสม.หมู่ที่ 4 บ้านป่าแก่ เห็นความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย ต่อยอดการดำเนินงานของชมรมออกกำลังกายเพื่อสุขภาพตำบลบางด้วน จึงมีความต้องการพัฒนาศักยภาพแกนนำออกกำลังกายด้วยวิธีกายบริหาร ซึ่งเป็นวิธีออกกำลังกายที่ปฏิบัติได้ทุกเพศทุกวัย และชักชวนกลุ่มเป้าหมายดำเนินกิจกรรมออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง สามารถสร้างสุขภาพที่ดี ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพื่อเตรียมรองรับสังคมสูงวัยและเป็นผู้สูงวัยที่มีสุขภาพดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้แกนนำออกกำลังกายด้วยกิจกรรมกายบริหารอย่างถูกวิธีเหมาะสมกับวัย 2. เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วันๆละ 30 นาที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำออกกำลังกายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยบ้านป่าแก่ ปี 2566

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แกนนำออกกำลังกายด้วยกิจกรรมกายบริหารอย่างถูกวิธีเหมาะสมกับวัย
  2. เกิดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วันๆละ 30 นาที

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำออกกำลังกายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยบ้านป่าแก่ ปี 2566

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำโครงการ/เสนอขออนุมัติงบประมาณ
  2. พัฒนาศักยภาพแกนนำออกกำลังกายด้วยวิธีกายบริหาร
  3. แกนนำแต่ละหมู่บ้านชักชวนกลุ่มเป้าหมายออกกำลังกายด้วยวิธีกายบริหาร อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วันๆละ 30 นาที
  4. สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-แกนนำออกกำลังกายได้พัฒนาองค์ความรู้การออกกำลังกายอย่างถูกวิธีเหมาะสมกับวัย ตามความชอบและความถนัดของตนเอง โดยออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วันๆละ 30 นาที -แกนนำออกกำลังกายบันทึกกิจกรรมการออกกำลังกายและระยะเวลาในการออกกำลังกายลงในแบบบันทึกกิจกรรมทุกครั้ง เป็นระยะเวลา 1 เดือน ระห่างเดือนมีนาคม 2566 - เดือน พฤษภาคม 2566

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้แกนนำออกกำลังกายด้วยกิจกรรมกายบริหารอย่างถูกวิธีเหมาะสมกับวัย 2. เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วันๆละ 30 นาที
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้แกนนำออกกำลังกายด้วยกิจกรรมกายบริหารอย่างถูกวิธีเหมาะสมกับวัย 2. เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วันๆละ 30 นาที

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำออกกำลังกายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยบ้านป่าแก่ ปี 2566

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำออกกำลังกายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยบ้านป่าแก่ ปี 2566 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1483-02-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางลักษณา ทองรุ่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด