กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม


“ โครงการสุขภาพฟันดีและไม่เหา ”

ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
เงินรายได้สถานศึกษาโรงเรียนบ้านลำแพะ

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพฟันดีและไม่เหา

ที่อยู่ ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L1536-2-003 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพฟันดีและไม่เหา จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพฟันดีและไม่เหา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพฟันดีและไม่เหา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากแจ่ม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L1536-2-003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,687.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากแจ่ม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปากแจ่ม


เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปากแจ่ม

ด้วย โรงเรียนบ้านลำแพะ มีความประสงค์จะจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม โครงการสุขภาพฟันดี และไม่มีเหา 100 % โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปากแจ่ม เป็นเงิน ๑๘,๖๘๗ บาท (หนึ่งหมื่นแปดพันหกร้อยแปดสิบเจ็ดบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมดังนี้ ส่วนที่ 1 : รายละเอียดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ( สำหรับผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมลงรายละเอียด)

  1. หลักการและเหตุผล หากเรามองย้อนกลับสู่อดีตที่ว่า เด็กคืออนาคตของชาติ ปัญหาสุขภาพเด็กในปัจจุบันได้บั่นทอนเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ความเจริญก้าวหน้าของประเทศชาติลดต่ำลงและด้วยโอกาสในเวทีต่างๆระดับโลก จากการวิเคราะห์ปัญหาสภาวะสุขภาพเด็กที่สำคัญได้แก่ การเจริญเติบโต พัฒนาการสมอง การมีภูมิคุ้มกันโรค และปัญหาสุขภาพด้วนทันตกรรม ซึ่งปัญหาเหล่านี้จะเชื่อมโยงกันไม่ว่าเราจะมองในประเด็นใดๆก็ตาม เด็กในพื้นที่ชนบทจะด้อยกว่าเด็กจากภาคส่วนอื่นๆของประเทศไทย หากเราได้พิจารณาแล้วว่าจริงๆแล้วเรามีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพฟันเด็ก การรักษาความสะอาดของร่างกายตั้งแต่หัวจรดเท้าให้กับเด็กเล็ก การเลี้ยงดูบุตรด้วยวิธีการต่างๆ หากแต่เราไม่ได้วางระบบการเข้าถึงบริการทางสาธารณสุขโดยเฉพาะการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันแก่ผู้ปกครองในการดูแลรักษาความสะอาดให้กับบุตรหลานอย่างเพียงพอ นักเรียนโรงเรียนบ้านลำแพะ จำนวน ๙๓ คน มีภาวะฟันผุ 56 คน คิดเป็นร้อยละ ๖๐.2๒ ของนักเรียนทั้งหมด และมีนักเรียนหญิง จำนวน ๕๓ คน ที่เป็นเหา คิดเป็นร้อย ๕๖.๙๙ ของนักเรียนทั้งหมด ซึ่งจากข้อมูลดังกล่าวหากเราไม่รีบดำเนินการหรือหาแนวทางแก้ไขปัญหา นักเรียนโรงเรียนบ้านลำแพะพื้นที่ตำบลปากแจ่มมีแนวโน้มของการเกิดโรคเหาเพิ่มมากขึ้นจากเพื่อนสู่เพื่อนจากพี่สู่น้องและจากครอบครัวสู่โรงเรียนทำให้ไม่สามารถกำจัดให้หมดได้ ซึ่งหากเกิดขึ้นแล้วจะส่งผลเสียและผลกระทบทางด้านสุขภาพของคนในตำบลปากแจ่ม  ดังนั้นทางโรงเรียนบ้านลำแพะ ได้เห็นถึงความสำคัญของสุขภาพเด็กด้านการส่งเสริมความสะอาดของร่ายกายคือ ศรีษะและช่องปาก จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพเด็กและการเข้าถึงบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เพื่อต่อไปเด็กจะได้เป็นอนาคตที่ดีของชาติ โรงเรียนบ้านลำแพะจึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า โครงการดังกล่าวจะช่วยแก้ปัญหาสุขภาพเด็กและเพิ่มคุณภาพของการมีชีวิตของเด็กในพื้นที่โรงเรียนบ้านลำแพะได้เป็นอย่างดี
  2. วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด/กลุ่มเป้าหมาย         2.1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพฟันของนักเรียน   2.2 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ในการแก้ไขปัญหาการกำจัดเหาของบุตรหลาน 100 %


  3. วิธีดำเนินการ โรงเรียนบ้านลำแพะร่วมกับหน่วยบริการและเครือข่ายสุขภาพในชุมชน   3.1 เขียนโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปากแจ่ม
    ๓.2 ประชุมคณะครู ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียนแกนนำ
    ๓.3 ดำเนินโครงการสุขภาพฟันดี และไม่มีเหา 100 %ประกอบไปด้วยกิจกรรม ๒ กิจกรรม ๓.๓.๑ กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการแปรงฟันอย่างถูกวิธีแก่นักเรียนและบันทึกการแปรงฟันของนักเรียนทุกวันเป็นรายบุคคล ๓.๓.๒ กิจกรรมให้ความรู้และกำจัดเหาให้นักเรียนหญิง ๓.4 ติดตามประเมินภาวะโภชนาการของนักเรียน ก่อน – หลัง เข้าร่วมโครงการ
    3.5 สรุปผลการดำเนินงานโครงการนำส่งคณะกรรมการกองทุนฯ
  4. ระยะเวลาดำเนินการ ปีงบประมาณ พ.ศ.256๖

  5. กลุ่มเป้าหมายและสถานที่ดำเนินการ นักเรียนชั้นอนุบาล 1 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ครูและบุคลากรสนับสนุนในโรงเรียนบ้านลำแพะ จำนวน ๙๓ คน

  6. งบประมาณ   จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปากแจ่มเป็นเงิน ๑๘,๖๘๗ บาท รายละเอียด ดังนี้ 6.1 ค่าแปรงสีฟัน จำนวน 93 ด้าม ด้ามละ 4๐ บาท เป็นเงิน ๓,๗๒๐ บาท ๖.๒ ค่ายาสีฟัน ๑๕๐ กรัม จำนวน ๒๑ หลอด หลอดละ ๖๒ บาท เป็นเงิน ๑,๓๐๒ บาท 6.๓ ค่าแก้วน้ำ  จำนวน 93 ใบ ใบละ 20 บาท เป็นเงิน ๑,๘๖0 บาท 6.๔ ค่ายากัดเหา จำนวน 53 ขวด ขวดละ 80 บาท เป็นเงิน ๔,๒๔0 บาท ๖.๕ ค่าหมวกคลุมผม จำนวน 53 ใบ ใบละ 15 บาท เป็นเงิน  ๗๙๕ บาท
    6.๖ ค่าผ้าขนหนู จำนวน 53 ผืน ผืนละ ๑๐๐ บาท เป็นเงิน ๕,๓๐๐ บาท 6.๗ ค่าถุงมือ จำนวน ๑ กล่อง เป็นเงิน  ๒๘๐ บาท ๖.๘ ค่ากระดาษจัดทำเอกสารให้ความรู้และทำสมุดบันทึกการแปรงฟัน เป็นเงิน ๑,๑๙๐ บาท   จำนวน ๒ ลัง ลังละ ๕๙๕ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๑๘,๖๘๗ บาท (หนึ่งหมื่นแปดพันหกร้อยแปดสิบเจ็ดบาทถ้วน)
  7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ   ๗.1 นักเรียนมีสุขภาพฟันดีขึ้น มีนักเรียนฟันผุน้อยลง ๗.2 ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาการกำจัดเหาของบุตรหลาน ได้ 100 % ๗.3 นักเรียนรู้จักการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายตนเองทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสุขภาพฟันดีและไม่เหา จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 66-L1536-2-003

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( เงินรายได้สถานศึกษาโรงเรียนบ้านลำแพะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด