กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง


“ โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ”

ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจันจิรา หลำเบ็นสะ

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ที่อยู่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3329-2-19 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙        ๒. เพื่อให้เด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดฮีดายาตุ้ลฮีดายะห์ ร่วมมือร่วมใจกันและควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) เป็นโรคอุบัติใหม่พบผู้ป่วยครั้งแรกที่เมืองอู่ฮั่น มลฑณหูเปย์ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ในช่วงปลายปี ๒๕๖๒ เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนา เป็นเชื้อสายพันธุ์ใหม่ มีการแพร่ระบาดใหญ่ไปทั่วโลก มีจำนวนผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ทั่วโลก ณ วันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๖๓ จำนวน ๑,๖๙๔,๙๕๔ คน เสียชีวิตรวม ๑๐๒,๖๐๗ คน ประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ณ วันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๖๓ จำนวน ๒,๕๑๘ คน เสียชีวิต ๓๕ คน       โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เป็นโรคติดต่ออันตรายตาม พ.ร.บ. โรคติดต่อ พ.ศ.๒๕๕๘ ลำดับที่ ๑๔ ตามประกาศราชกิจจานุเบกษา เมิ่อวันที่ ๒๙ ก.พ ๒๕๖๓ ผู้ติดเชื้ออาจป่วยเนื่องจากไวรัสนี้เป็นเวลา ๑ - ๑๔ วันก่อนที่จะแสดงอาการ  อาการทั่วไปของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ คือ เป็นไข้ อ่อนเพลีย ไอ เจ็บคอ เหนื่อย หอบ ผู้ป่วยส่วนน้อยอาจมีอาการรุนแรงจนถึงขั้นทำให้เสียชีวิต ผู้สูงอายุและผู้ที่มีโรคประจำตัว  ( เช่น หอบ หืด เบาหวาน หรือโรคหัวใจ) อาจมีความเสี่ยงมากขึ้นที่อาการผู้ป่วยจะรุนแรง กลุ่มคนที่มีโอกาสเสียชีวิตมากกว่าได้แก่ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วย และอาจจะรวมถึงผู้ชายด้วย       ดังนั้น เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ โดยอาศัยความร่วมมือของเทศบาลตำบลควนเสาธง ส่งเสริมให้เด็กใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งเหรียง เกิดความตระหนักความร่วมมือปฏิบัติตามมาตรการของราชการ ป้องกันไม่ให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ระบาดในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งเหรียง จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ๒. เพื่อให้เด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งเหรียง ร่วมมือร่วมใจกันและควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งเหรียง จำนวน 42 คน ปลอดภัยจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID)
        ๒. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งเหรียง ร่วมมือร่วมใจกันป้องกันควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID)


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    โครงการนี้จัดทำเพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 โดยอาศัยความร่วมมือของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลควนเสาธง โดยได้รับความร่วมมือร่วมใจจาก บุคคลากร ครู และผู้ปกครอง เป็นอย่างดี

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ๒. เพื่อให้เด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งเหรียง ร่วมมือร่วมใจกันและควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
    ตัวชี้วัด :
    20.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 20
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0 20
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙        ๒. เพื่อให้เด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดฮีดายาตุ้ลฮีดายะห์ ร่วมมือร่วมใจกันและควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการควบคุมป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 66-L3329-2-19

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวจันจิรา หลำเบ็นสะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด