กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษ ”

ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติฯเทศบาลตำบลทุ่งยาว

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษ

ที่อยู่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L8018-02-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 31 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L8018-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ต้นเหตุของปัญหาสุขภาพ ที่สำคัญมีสาเหตุมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี หรือ ผัก-ผลไม้ที่ไม่ปลอดสารพิษ เพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืช อย่างไม่ถูกวิธีเพื่อเหตุผลทางการค้าและพาณิชย์ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้น ตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง แนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุ แบบยั่งยืน คือการให้สุขศึกษาแก่ประชาชน และการส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน การปลูกผักรับประทานเองแบบผักอินทรีย์ก็เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยใช้ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดีมีประโยชน์อย่างแท้จริง
ทางชมรมอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลทุ่งยาว เห็นความสำคัญของการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเอง ซึ่งมีทั้งความปลอดภัยจากสารเคมี จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษขึ้น เพื่อส่งเสริม และให้ความรู้ในการบริโภคผักปลอดสารพิษ เพื่อพิชิตโรค และเป็นการให้ชุมชน หันกลับมาดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงในการป้องกันโรค เน้นในด้านการป้องกันโรคมากกว่าการรักษาพยาบาล

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อรณรงค์และให้ความรู้ในการบริโภคผักปลอดสารพิษ เพื่่อพิชิตโรค
  2. 1. เพื่อรณรงค์และให้ความรู้ในการบริโภคผักปลอดสารพิษ เพื่อพิชิตโรค 2. เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองในครัวเรือนแก่ประชาชนในพื้นที่ 3. เพื่อส่งเสริม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องและปลอดภัยแก่ประชาชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประเมินภาวะสุขภาพ
  2. กิจกรรม ประชาสัมพันธ์
  3. กิจกรรม อบรมให้ความรู้ เรื่อง ผักปลอดสารพิษกับประโยชน์ในการป้องกันโรค
  4. กิจกรรม ให้ความรู้พร้อมสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ ป้องกันโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ในเรื่องการรับประทานอาหารปลอดสารพิษและมีภาวะสุขภาพที่ดี
  2. ประชาชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ รับประทานเองในครัวเรือน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรม ประชาสัมพันธ์

วันที่ 22 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ป้ายประชาสัมพันธ์เข้าร่วมโครงการ จำนวน 1 ป้าย

 

50 0

2. กิจกรรม อบรมให้ความรู้ เรื่อง ผักปลอดสารพิษกับประโยชน์ในการป้องกันโรค

วันที่ 22 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • ดำเนินการจัดอบรมให้ความรู้ในเรื่องการปลูก ดูแลรักษา และประโยชน์ของผัก การปลูกผักที่ปลอดภัย   - อบรมการทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ การทำ EM ทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้เข้าร่วมโครงการ จำรนวน 50 คน

 

50 0

3. กิจกรรม ให้ความรู้พร้อมสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ ป้องกันโรค

วันที่ 22 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้พร้อมสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ ป้องกันโรค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ดำเนินกิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษ ป้องกันโรค               - สนับสนุนเมล็ดพันธุ์ผัก เพื่อการบริโภคผักปลอดสารพิษ ลดการเกิดโรค สำหรับครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการ
                จำนวน 50 ครัวเรือน

 

50 0

4. ประเมินภาวะสุขภาพ

วันที่ 22 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

  • ดำเนินการประเมินสภาวะสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการก่อน และหลัง ดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อรณรงค์และให้ความรู้ในการบริโภคผักปลอดสารพิษ เพื่่อพิชิตโรค
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 1. เพื่อรณรงค์และให้ความรู้ในการบริโภคผักปลอดสารพิษ เพื่อพิชิตโรค 2. เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองในครัวเรือนแก่ประชาชนในพื้นที่ 3. เพื่อส่งเสริม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องและปลอดภัยแก่ประชาชน
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนมีความรู้ในเรื่องการรับประทานอาหารปลอดสารพิษและมีสุขภาพที่ดี 2. ครัวเรือนเป้าหมายเข้าร่วมปลูกผักปลอดสารพิษ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. ประชาชน/ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.  เพื่อรณรงค์และให้ความรู้ในการบริโภคผักปลอดสารพิษ  เพื่่อพิชิตโรค (2) 1.  เพื่อรณรงค์และให้ความรู้ในการบริโภคผักปลอดสารพิษ  เพื่อพิชิตโรค  2.  เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองในครัวเรือนแก่ประชาชนในพื้นที่  3.  เพื่อส่งเสริม  ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องและปลอดภัยแก่ประชาชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประเมินภาวะสุขภาพ (2) กิจกรรม  ประชาสัมพันธ์ (3) กิจกรรม  อบรมให้ความรู้  เรื่อง  ผักปลอดสารพิษกับประโยชน์ในการป้องกันโรค (4) กิจกรรม  ให้ความรู้พร้อมสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ  ป้องกันโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L8018-02-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติฯเทศบาลตำบลทุ่งยาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด