กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู


“ โครงการบางปูร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ เทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายนิรันดร์ แวจูนา

ชื่อโครงการ โครงการบางปูร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ เทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66L70080104 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบางปูร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ เทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบางปูร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ เทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบางปูร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ เทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66L70080104 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กุมภาพันธ์ 2566 - 31 พฤษภาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางปู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบัน ปัญหาจากการสูบบุหรี่ทำให้เกิดผลกระทบในระบบสุขภาพของประชาชนทั้งทางตรงคือผู้สูบบุหรี่เอง และทางอ้อมผู้ที่รับพิษจากควันบุหรี่ที่ผู้ใกล้ชิดเป็นผู้สูบ คือบุหรี่มือสอง ทั้งที่ประเทศไทยมีการรณรงค์การควบคุมการบริโภคยาสูบเกิดขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่ พ.ศ. 2517 แต่ในปี พ.ศ. 2551 บุหรี่คร่าชีวิตผู้คนทั่วโลกมากกว่า 5 ล้านคนซึ่งถือว่าเป็นจำนวนที่มากกว่าผู้เสียชีวิตจากโรควัณโรค โรคเอดส์และไข้มาลาเรียรวมกัน และคาดว่าในปี พ.ศ. 2573 จำนวนผู้เสียชีวิตทั้งหมดจะเพิ่มขึ้นเป็น 8 ล้านคนต่อปีโดยพบว่ามะเร็งที่มีอุบัติการณ์สูงขึ้นในผู้สูบบุหรี่ได้แก่มะเร็งปอดที่เป็นมะเร็งที่พบบ่อยในผู้ชายไทยอีกทั้งการสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่องจะทำให้ผู้สูบเกิดภาวะหลอดเลือดตีบตันและเกิดปัญหาการสูญเสียการทำงานของหลอดเลือดโคโรนารีที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ การสูบบุหรี่ยังเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบและกล้ามเนื้อหัวใจตายจากการขาดเลือดไปเลี้ยงทำให้ผู้ป่วยมีอาการแน่นหน้าอกและหัวใจวาย โรคความดันโลหิตสูง และหัวใจเต้นผิดปกติ และได้มีการประมาณการทุกครั้งที่มีผู้สูบบุหรี่เสียชีวิตครบ 8 ราย จะมีผู้รับควันบุหรี่จากสิ่งแวดล้อมเสียชีวิตไปด้วย 1 ราย ผู้ที่ได้รับควันบุหรี่จากสิ่งแวดล้อมจะมีโอกาสเกิดโรคโรคหัวใจและหลอดเลือดสูงกว่าคนที่ไม่เคยได้รับ 1.3 เท่า และจะมีโอกาสเกิดมะเร็งปอดได้มากขึ้นประมาณ 1.8 เท่าโดยกลุ่มผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นพิเศษในการได้รับควันบุหรี่จากสิ่งแวดล้อมได้แก่ทารกในครรภ์และเด็กหากมารดาตั้งครรภ์สูบบุหรี่หรือได้รับควันดังกล่าวจะมีโอกาสเกิดผลเสียต่อทารกในครรภ์และเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์สูง เช่นทารกน้ำหนักตัวน้อยคลอดก่อนกำหนดเด็กหากได้รับควันดังกล่าวจะมีโอกาสเกิดภาวะไหลตาย ปอดอักเสบติดเชื้อ โรคภูมิแพ้โรคหอบหืดได้มากกว่าเด็กทั่วไป สำนักงานสถิติแห่งชาติได้สำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ปี 2557 พบว่า จำนวนประชากรมีอายุ ตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป 54.8 ล้านคน เป็นผู้สูบบุหรี่ 11.4 ล้านคน (ร้อยละ 20.7 ) เป็นผู้สูบบุหรี่ประจำ 10 ล้านคน (ร้อยละ 18.2 ) สูบนานๆครั้ง 1.4 ล้านคน (ร้อยละ 2.5 ) ในกลุ่มวัยทำงาน (25 – 59 ปี) มีอัตราการสูบบุหรี่สูงสุด (ร้อยละ 23.5 ) รองลงมากลุ่มผู้สูงอายุ (60ปีขึ้นไป) และกลุ่มเยาวชน(15 – 24 ปี)(ร้อยละ 16.6 และ 14.7 ตามลำดับ) ผู้ชายสูบบุหรี่มากกว่าผู้หญิง 18.4 เท่า (ร้อยละ40.5 และ 22 ตามลำดับ)เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2556พบว่าเพศชายและหญิงมีอัตราการสูบบุหรี่เพิ่มสูงขึ้นและทุกกลุ่มมีอายุเฉลี่ยที่เริ่มสูบบุหรี่น้อยลง โดยเฉพาะกลุ่มเยาวชน 15-24 ปีเริ่มสูบบุหรี่อายุน้อยลงค่อนข้างมากกว่ากลุ่มอื่นคือจากปี 2550 เยาวชนเริ่มสูบบุหรี่เมื่ออายุ 16.8 ปี ในปี 2557 ลดลงเป็นอายุ 15.6 ชี้ให้เห็นว่า อายุของนักสูบบุหรี่หน้าใหม่มีอายุน้อยลง จึงต้องมีมาตรการเฝ้าระวังในกลุ่มเยาวชนมากขึ้น และในประเทศไทยมีคนเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากบุหรี่คิดเป็น 12 % ของการตายทั้งหมดรัฐบาลสูญเสียทางเศรษฐกิจกับค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคที่เกิดจากบุหรี่ถึง 43.6 พันล้านบาท คิดเป็น 0.5% ของ GDP ถ้ายังไม่มีมาตรการใดๆในการป้องกันและเฝ้าระวังนักสูบบุหรี่หน้าใหม่อีกทั้งบุหรี่เป็นเพียงสินค้าชนิดเดียวที่ถูกกฎหมาย แต่เป็นอันตรายต่อทุกคนทั้งที่เป็นผู้สูบบุหรี่ และผู้ไม่สูบบุหรี่ แต่ได้รับควันบุหรี่มือสอง จึงมีความจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนให้ลด ละ เลิก การสูบบุหรี่โดยยึดหลักการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งการดูแลสร้างเสริมสุขภาพ การแนะนำให้มาบำบัด จัดระบบเฝ้าระวังไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ โดยการสร้างแรงจูงใจ การตระหนักในปัญหา ร่วมกันให้คำปรึกษา ติดตาม ดูแล และการให้ความรู้แก่ประชาชนให้สามารถนำไปปฏิบัติจริง โดยเฉพาะการป้องกันที่ดีโดยการสร้างการตระหนัก จูงใจประชาชนเลิกบุหรี่เพื่อสุขภาพดี ของตนเองและบุคคลรอบด้าน ด้วยเหตุดังกล่าวกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมร่วมกับอาสามสมัครสาธารณสุขตำบลบางปู จึงได้จัดทำโครงการรวมพลังคนรุ่นใหม่เพื่อชุมชนปลอดบุหรี่เทศบาลตำบลบางปูอำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ2566นี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้าง/ขยายเครือข่ายเฝ้าระวังควบคุมการบริโภคยาสูบในหมู่บ้าน/ชุมชน ตำบลบางปู
  2. 2. เพื่อลดอัตราการสูบบุหรี่ของประชาชนในชุมชน
  3. 3. เพื่อลดจำนวนผู้สูบรายใหม่
  4. 4. เพื่อลดจำนวนผู้สัมผัสควันบุหรี่มือสองในบ้านของตนเอง
  5. 5. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กำหนดการอบรม โครงการบางปูร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ เทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2566

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 84
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดเครือข่ายภาคประชาชนเพื่อร่วมดำเนินงานเฝ้าระวังควบคุมการบริโภคยาสูบในหมู่บ้าน/ชุมชน
  2. ลดอัตราการสูบบุหรี่ของผู้สูบรายใหม่และลดจำนวนผู้สัมผัสควันบุหรี่มือสอง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กำหนดการอบรม โครงการบางปูร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ เทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2566

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขั้นเตรียมการโครงการ 1.1. เขียนโครงการและนำเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติดำเนินการตามขั้นตอน 1.2. ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมการดำเนินการงานและกำหนดหลักสูตรการอบรม 1.3. จัดเตรียมเอกสารประกอบการอบรม  ประสานสถานที่  ประสานวิทยากร
    1. ขั้นเตรียมการดำเนินงาน 2.1. จัดส่งโครงการให้คณะผู้บริหารกองทุนฯตำบลบางปู  อำเภอยะหริ่ง  จังหวัดปัตตานี เพื่อพิจารณาคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรมตามโครงการฯ  ตามกำหนดต่อไป 2.2. ดำเนินการตามกิจกรรมต่าง ๆ ตามระยะเวลาที่กำหนด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดเครือข่ายภาคประชาชนเพื่อร่วมดำเนินงานเฝ้าระวังควบคุมการบริโภคยาสูบในหมู่บ้าน/ชุมชน
  2. ลดอัตราการสูบบุหรี่ของผู้สูบรายใหม่และลดจำนวนผู้สัมผัสควันบุหรี่มือสอง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้าง/ขยายเครือข่ายเฝ้าระวังควบคุมการบริโภคยาสูบในหมู่บ้าน/ชุมชน ตำบลบางปู
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อลดอัตราการสูบบุหรี่ของประชาชนในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. เพื่อลดจำนวนผู้สูบรายใหม่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4. เพื่อลดจำนวนผู้สัมผัสควันบุหรี่มือสองในบ้านของตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 5. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 84
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 84
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้าง/ขยายเครือข่ายเฝ้าระวังควบคุมการบริโภคยาสูบในหมู่บ้าน/ชุมชน ตำบลบางปู (2) 2. เพื่อลดอัตราการสูบบุหรี่ของประชาชนในชุมชน (3) 3. เพื่อลดจำนวนผู้สูบรายใหม่ (4) 4. เพื่อลดจำนวนผู้สัมผัสควันบุหรี่มือสองในบ้านของตนเอง (5) 5. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กำหนดการอบรม โครงการบางปูร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ เทศบาลตำบลบางปู  อำเภอยะหริ่ง  จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2566

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบางปูร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ เทศบาลตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66L70080104

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนิรันดร์ แวจูนา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด