กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว


“ โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ”

ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
1.นางจริยา สุโสะ 2.น.ส.มัสชุพรรณวจี ทวยเดช

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

ที่อยู่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L8018-1-02 เลขที่ข้อตกลง 2/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการใช้ศาสตร์ทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ และป้องกันโรค (2) เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในชุมชนมากยิ่งขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฝึกอบรมโครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

  1. หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
      จากข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก รพ.สต.ทุ่งยาว พบว่า ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษา ด้วยโรคทางบระบบกล้ามเนื้อและกระดูก เป็นอันดับต้นๆ ของผู้ป่วยนอก เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ในเทศบาลตำบลทุ่งยาวประกอบอาชีพเกษตรกร รับจ้างและค้าขาย ซึ่งเป็นอาชีพที่ต้องใช้ อิริยาบถที่ไม่เหมาะสม เช่น ยกของหนัก แบกหาม การนั่ง ยืน ผิดจากท่าทางปกติ เป็นต้น ผลของการทำงานส่งผลกระทบต่อสุภาพ ทำให้ระบบโครงสร้างร่างกาย ทั้งระบบกล้ามเนื้อและกระดูก ผิดปกติ เกิดการเจ็บป่วยขึ้น และกระทบกับคุณภาพชีวิตของประชาชนในอย่างมาก
    การแพทย์แผนไทยเป็นภูมิปัญญาตั้งแต่สมัยโบราณ ในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บ มักจะรักษาโดยใช้สมุนไพร นอกจากนั้น ยังมีการรักษาด้วยวิธีการ นวด การประคบ การรักษาโรคด้วยวิธีนี้ทำให้โลหิตไหลเวียนสะดวกขึ้นเป็น  การปรับสภาพร่างกายให้เกิดความสมดุล และยังทำให้ร่างกายรู้สึกสบายตัวมากขึ้น ปัจจุบันได้มีการรักษาโรคทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูก ในหลายวิธี ซึ่งการรักษาด้วยภูมิปัญญาไทยเป็นอีก หนึ่งทางเลือกในการป้องกันโรคดังกล่าวโดย การทำหัตถการต่างๆ เช่น การตอกเส้น การยืดตัด การเขี่ยเส้น การประคบสมุนไพร ซึ่งหัตถการต่างๆ นี้พบว่าการทำหัตถการดังกล่าวมีประสิทธิภาพในการช่วยลดอาการปวดเมื่อยใน ผู้ป่วยโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อได้ดี รวมถึงส่งเสริมให้ประชาชนสามารถดูแลรักษา และป้องกันตนเอง จากโรคทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ ได้ในเบื้องต้น ยังสามารถลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษา ตลอดจนประหยัดเวลาในการเดินทางไปโรงพยาบาลได้ด้วย

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งยาว เห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เพื่อลดการเจ็บป่วยด้วยอาการทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูก จึงได้จัดทำโครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เพื่อให้ประชาชนในเทศบาลตำบลทุ่งยาวที่มีความสนใจ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ทั้งการใช้สมุนไพร การนวด และสามารถนำไปใช้ในการดูแลสุขภาพ และป้องกันการเกิดโรค ของตนเอง คนในครอบครัว ชุมชน ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้ป่วยติดเตียง ในพื้นที่เทศบาลตำบลทุ่งยาวได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการใช้ศาสตร์ทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ และป้องกันโรค
  2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในชุมชนมากยิ่งขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมฝึกอบรมโครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
  2. กิจกรรมฝึกอบรมโครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการใช้ศาสตร์ทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ และป้องกันโรค 1. ๒. ชุมชนมีการใช้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพมากยิ่งขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมฝึกอบรมโครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

วันที่ 31 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ทำแบบทดสอบความรู้ก่อนการอบรม
  2. บรรยายให้ความรู้ และสาธิตการทำลูกประคบ น้ำมันนวด และการใช้น้ำมันนวด การนวดด้วยการใช้น้ำมันนวด ท่าการบริหารด้วยท่าฤาษีดัดตน
  3. ฝึกปฏิบัติ
  4. ทำแบบทดสอบความรู้หลังการอบรม
  5. สรุปผลการดำเนินกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๘๐ มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการใช้ศาสตร์ทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ และป้องกันโรค
  2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในชุมชนมากยิ่งขึ้น

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการใช้ศาสตร์ทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ และป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๘๐ มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการใช้ศาสตร์ทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ และป้องกันโรค

 

2 เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในชุมชนมากยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๘๐ มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการใช้ศาสตร์ทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ และป้องกันโรค

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการใช้ศาสตร์ทางการแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพ และป้องกันโรค (2) เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยในชุมชนมากยิ่งขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฝึกอบรมโครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L8018-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1.นางจริยา สุโสะ 2.น.ส.มัสชุพรรณวจี ทวยเดช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด