กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ


“ โครงการ ชุมชนร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ ”

ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางนิรมาลย์ ดือราซอ

ชื่อโครงการ โครงการ ชุมชนร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่

ที่อยู่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2514-1-05 เลขที่ข้อตกลง 5/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2023 ถึง 30 กันยายน 2023


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ชุมชนร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ชุมชนร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ชุมชนร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2514-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2023 - 30 กันยายน 2023 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ ตำบลลาโละ อำเอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รับผิดชอบ จำนวน 5 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งหมด 5,200คน มีจำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 834ครัวเรือน ประชากรทั้งหมดนับถือศาสนาอิสลามและประกอบอาชีพเกษตรกรรม จากการสำรวจกลุ่มประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป พบว่ามีจำนวนทั้งหมด 3,668 คนสามารถคัดกรองพฤติกรรมสุขภาพการสูบบุหรี่ในประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 3,122 คน พบผู้ที่สูบบุหรี่ มีจำนวน 655 คน คิดเป็นร้อยละ 20.98 โดยส่วนใหญ่เป็นผู้สูบเป็นประจำ จำนวน 550 คน คิดเป็นร้อยละ 83.97 และเป็นผู้ที่สูบนานๆครั้งจำนวน 111 คน คิดเป็นร้อยละ 16.94 เป็นตัวเลขที่สูง แสดงให้เห็นถึงปัญหาการใช้ยาสูบในพื้นที่ ซึ่งเป็นที่ทราบว่า ทำให้เกิดผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของทั้งผู้สูบเอง คนในครอบครัว ชุมชน และยังเกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจของครอบครัว อัตราการสูบบุหรี่ คิดเป็นร้อยละ 20.98 ของประชากรที่สำรวจ ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ ซึ่งการควบคุมการสูบบุหรี่ โดยใช้ชุมชนเป็นฐานของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จึงมุ่งเน้นทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับบุคคลและสภาพแวดล้อมเพื่อให้ประชาชนได้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อการสูบบุหรี่ ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งที่สำคัญในการช่วยป้องกันการริเริ่มการสูบบุหรี่ทั้งในกลุ่มเยาวชนและผู้ที่ยังไม่สูบ ช่วยควบคุมการสูบบุหรี่ด้วยการจำกัดการเข้าถึง ช่วยการเลิกบุหรี่ สำหรับผู้สูบบุหรี่ในปัจจุบัน การสร้างการรับรู้และความตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่และควันบุหรี่มือสอง และการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อการสูบบุหรี่ ซึ่งจะมีผลต่อการลด ละ เลิกการสูบบุหรี่โดยภาพรวมและมีผลต่ออัตราการสูบบุหรี่ให้ลดลงได้ในที่สุด ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ จึงได้จัดทำโครงการ ชุมชนร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ ขึ้น เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชนตลอดจนเพื่อสร้างชุมชนปลอดบุหรี่ให้เกิดขึ้น อันจะลดผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพ และความสูญเสียอันเนื่องมาจากการใช้จ่ายเพื่อซื้อบุหรี่ และการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกี่ยวข้องกับการสูบบุหรี่ และเพื่อสงเสริมให้ประชาชนสุขภาพดีที่ยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน
  2. เพื่อสร้างมาตรการชุมชนและนโยบายสาธารณะในการดำเนินการควบคุมการสูบบุหรี่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการรณรงค์การเลิกสูบหรี่ในชุมชน
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเลิกบุหรี่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน และได้บุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่ ของแต่ละหมู่บ้าน 2.สามารถป้องกันนักสูบหน้าใหม่ในเด็กและเยาวชน 3.ชุมชนมีมาตรการชุมชนและนโยบายสาธารณะในการดำเนินการควบคุมการสูบบุหรี่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน
10.00

 

2 เพื่อสร้างมาตรการชุมชนและนโยบายสาธารณะในการดำเนินการควบคุมการสูบบุหรี่
ตัวชี้วัด : ร้อยละชุมชนและนโยบายสาธารณะในการดำเนินการควบคุมการสูบบุหรี่
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชน (2) เพื่อสร้างมาตรการชุมชนและนโยบายสาธารณะในการดำเนินการควบคุมการสูบบุหรี่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการรณรงค์การเลิกสูบหรี่ในชุมชน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเลิกบุหรี่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ชุมชนร่วมใจ ลด ละ เลิกบุหรี่ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2514-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนิรมาลย์ ดือราซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด