กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย
รหัสโครงการ 66-L7931-2-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนสามัคคีศึกษา
วันที่อนุมัติ 29 พฤศจิกายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 29 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 15 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 10,400.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.นายศักดา วัจนพิสิฐ ผอ.ร.ร.สามัคคีศึกษา 2. นางธนพรรณ ตั้งธีระสุนันท์ ครู ร.ร.สามัคคีศึกษา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาวง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.761017141,99.51451581place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด
10.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

อาหารเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อการดำรงชีวิตมนุษย์และอาหารที่ประชาชนบริโภคนั้นต้องปราศจากเชื้อโรคอาหารเป็นพิษหรือปนเปื้อนจากเชื้อโรคทางเดินอาหารและสารเคมีเพื่อให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย จึงต้องมีระบบการดูแล ควบคุม และตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัย อาหารที่ผลิตทุกขั้นตอนตลอดห่วงโซ่อาหาร ตั้งแต่วัตถุดิบ การผลิต การแปรรูป การจัด จำหน่าย จนถึงผู้บริโภคอาหาร หรือที่กล่าวว่าจากฟาร์มสู่โต๊ะอาหาร กระทรวงสาธารณสุขจึงได้มีมาตรการทางกฎหมายและนโยบายในการควบคุม กำกับ ตรวจสอบดูแลสถานที่สะสมวัตถุดิบ สถานที่ปรุง ประกอบและจำหน่ายอาหาร ให้มีความเข้มงวดกวดขันเพิ่มมากขึ้น ร่วมกับการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับภาครัฐ ภาคเอกชนอย่างต่อเนื่อง จัดทำแผนยุทศาสตร์การดำเนินงานความปลอดภัยของอาหารและเผยแพร่แนวทางการบริโภคอาหารที่ดี ลดความเสี่ยงโรคที่เกิดจากอาหาร สร้างเริมพฤติกรรม การบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการจำหน่ายและผลิตอาหารที่สะอาดและมีคุณภาพ ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีและห่างไกลโรค โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวเนื่องกับโภชนาการ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 นักเรียนสามารถเลือกซื้อผักผลไม้ที่ปลอดสารพิษปนเปื้อน

นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบสารพิษผักผลไม้

20.00
2 เพื่อให้นักเรียนรู้จักเลือกบริโภคอาหารและวิธีการประกอบอาหารที่ปลอดภัย

นักเรียนร้อยละ 80 รู้จักเลือกบริโภคอาหารและวิธีการประกอบอาหารที่ปลอดภัย

20.00
3 เพื่อเพิ่มพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์

ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด

10.00 20.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 240 10,400.00 2 10,400.00
16 ส.ค. 66 กิจกรรมอบรมให้ความรู้การเลือกซื้อผักผลไม้และการตรวจสอบสารพิษในผักผลไม้ 120 7,200.00 7,200.00
18 ส.ค. 66 - 15 ก.ย. 66 กิจกรรมสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน 120 3,200.00 3,200.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนได้นำความรู้เรื่องการปลูกผักไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
  2. นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนได้รับประทานอาหารที่ปลอดสารพิษ
  3. ส่งเสริมให้นักเรียนปลูกผักและผลิตปุ๋ยชีวภาพแทนปุ๋ยเคมี
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ก.พ. 2566 15:51 น.