โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตู(ผู้ปกครองนักเรียน)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตู(ผู้ปกครองนักเรียน) ”
ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีดา ซือนิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู
สิงหาคม 2566
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตู(ผู้ปกครองนักเรียน)
ที่อยู่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2540-3- เลขที่ข้อตกลง 18/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตู(ผู้ปกครองนักเรียน) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตู(ผู้ปกครองนักเรียน)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตู(ผู้ปกครองนักเรียน) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2540-3- ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 80 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคน โดยเฉพาะในเด็กปฐมวัย โรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในขวบปีแรก และอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 1-3 ปี สาเหตุหลักที่ทำให้เด็กมีฟันผุ มาจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรง ทำให้เด็กมีความเจ็บปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติ ได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอและส่งผลต่อพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็กได้
การเกิดฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้ว ยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วย กล่าวคือ ฟันน้ำนมที่เสีย ถูกถอน หรือหลุดไปก่อนที่ฟันแท้จะขึ้นแทนที่จะทำให้ฟันที่อยู่ติดกันรวน เก ล้ม เอียง เข้าหาช่องว่าง ทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นแทนตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติ อาจจะขึ้นมาในลักษณะบิด ซ้อนกันหรือมีขนาดใหญ่ ไม่เหมาะสมกับใบหน้าของเด็ก ซึ่งจะเป็นปมด้อยทำให้เด็กไม่กล้าแสดงออกการแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการใช้รูปแบบการให้บริการทันตกรรมครบวงจร การตรวจสุขภาพช่องปาก การให้สุขศึกษา บูรณาการทันตกรรม การแปรงฟันที่ถูกวิธี การบำบัดรักษา และการติดตามประเมินผล
ศูนย์เด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตูได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตู ได้จัดให้มีโครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตู เพื่อป้องกันและลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- เพื่อสร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและบริการป้องกันโรคฟันผุให้เด็ก ได้แก่ การตรวจสุขภาพช่องปาก การส่งเสริมให้มีการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์ทุกวัน
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครู และชุมชนในการป้องกันโรคฟันผุในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมการอบรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- สาธิตการป้องกันโรคช่องปาก
- ประกวดหนูน้อยฟันสวย ฟันดี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
การลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมการอบรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 80 คน 1. ค่าป้ายไวนิล1 ผืนๆละ 720 บาท ขนาด 120x240 ซม. เป็นเงิน 720 บาท 2. ค่าตอบแทนวิทยากร 4 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท 3. ค่าอาหารพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆละ 1 มื้อๆละ 60 บาทเป็นเงิน 4,800 บาท 4. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆละ 2 มื้อๆละ 30 บาทเป็นเงิน 4,800 บาท 5. ค่าวัสดุอุปกรณ์สำหรับผู้เข้าอบรม จำนวน 80 ชุดๆละ 80 บาท (กระเป๋า,สมุด,ปากกา,แผ่นพับ)เป็นเงิน 6,400 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันทันตสุขภาพของเด็กมากขึ้น
0
0
2. สาธิตการป้องกันโรคช่องปาก
วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.โมเดล ฟันจำลองพร้อมแปรง ราคาชุดละ 1,990 บาทจำนวน 1 ชุดเป็นเงิน 1,990 บาท 2.แปรงสีฟันเด็ก ด้ามละ 35 บาท จำนวน 80 ด้ามเป็นเงิน 2,800 บาท 3.ยาสีฟันเด็ก หลอดละ 40 บาท จำนวน 35 หลอด เป็นเงิน 1,400 บาท 4.ผ้าขนหนูขนาด 12x24 ผืนละ 35 บาท จำนวน 80 ผืน เป็นเงิน 2,800 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีวัสดุอุปกรณ์ในการส่งเสริมป้องกันสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
0
0
3. ประกวดหนูน้อยฟันสวย ฟันดี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประกวดหนูน้อยฟันสวย ฟันดี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 5 คน 1.ค่าใบประกาศนียบัตร ใบละ 10 บาท จำนวน 5 ใบ เป็นเงิน 50 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียนมีสุขภาพช่องปากและฟันดี
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
80.00
15.00
2
เพื่อสร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและบริการป้องกันโรคฟันผุให้เด็ก ได้แก่ การตรวจสุขภาพช่องปาก การส่งเสริมให้มีการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์ทุกวัน
ตัวชี้วัด : การตรวจสุขภาพช่องปาก การส่งเสริมให้มีการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์ทุกวัน
80.00
15.00
3
เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครู และชุมชนในการป้องกันโรคฟันผุในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครู และชุมชนในการป้องกันโรคฟันผุในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
70.00
15.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) เพื่อสร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและบริการป้องกันโรคฟันผุให้เด็ก ได้แก่ การตรวจสุขภาพช่องปาก การส่งเสริมให้มีการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์ทุกวัน (3) เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครู และชุมชนในการป้องกันโรคฟันผุในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการอบรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) สาธิตการป้องกันโรคช่องปาก (3) ประกวดหนูน้อยฟันสวย ฟันดี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตู(ผู้ปกครองนักเรียน) จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2540-3-
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนูรีดา ซือนิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตู(ผู้ปกครองนักเรียน) ”
ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีดา ซือนิ
สิงหาคม 2566
ที่อยู่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2540-3- เลขที่ข้อตกลง 18/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตู(ผู้ปกครองนักเรียน) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตู(ผู้ปกครองนักเรียน)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตู(ผู้ปกครองนักเรียน) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2540-3- ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 80 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคน โดยเฉพาะในเด็กปฐมวัย โรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในขวบปีแรก และอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 1-3 ปี สาเหตุหลักที่ทำให้เด็กมีฟันผุ มาจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรง ทำให้เด็กมีความเจ็บปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติ ได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอและส่งผลต่อพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็กได้ การเกิดฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้ว ยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วย กล่าวคือ ฟันน้ำนมที่เสีย ถูกถอน หรือหลุดไปก่อนที่ฟันแท้จะขึ้นแทนที่จะทำให้ฟันที่อยู่ติดกันรวน เก ล้ม เอียง เข้าหาช่องว่าง ทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นแทนตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติ อาจจะขึ้นมาในลักษณะบิด ซ้อนกันหรือมีขนาดใหญ่ ไม่เหมาะสมกับใบหน้าของเด็ก ซึ่งจะเป็นปมด้อยทำให้เด็กไม่กล้าแสดงออกการแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการใช้รูปแบบการให้บริการทันตกรรมครบวงจร การตรวจสุขภาพช่องปาก การให้สุขศึกษา บูรณาการทันตกรรม การแปรงฟันที่ถูกวิธี การบำบัดรักษา และการติดตามประเมินผล ศูนย์เด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตูได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตู ได้จัดให้มีโครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตู เพื่อป้องกันและลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- เพื่อสร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและบริการป้องกันโรคฟันผุให้เด็ก ได้แก่ การตรวจสุขภาพช่องปาก การส่งเสริมให้มีการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์ทุกวัน
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครู และชุมชนในการป้องกันโรคฟันผุในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมการอบรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- สาธิตการป้องกันโรคช่องปาก
- ประกวดหนูน้อยฟันสวย ฟันดี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 80 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
การลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมการอบรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
||
วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 80 คน 1. ค่าป้ายไวนิล1 ผืนๆละ 720 บาท ขนาด 120x240 ซม. เป็นเงิน 720 บาท 2. ค่าตอบแทนวิทยากร 4 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท 3. ค่าอาหารพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆละ 1 มื้อๆละ 60 บาทเป็นเงิน 4,800 บาท 4. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆละ 2 มื้อๆละ 30 บาทเป็นเงิน 4,800 บาท 5. ค่าวัสดุอุปกรณ์สำหรับผู้เข้าอบรม จำนวน 80 ชุดๆละ 80 บาท (กระเป๋า,สมุด,ปากกา,แผ่นพับ)เป็นเงิน 6,400 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครองนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันทันตสุขภาพของเด็กมากขึ้น
|
0 | 0 |
2. สาธิตการป้องกันโรคช่องปาก |
||
วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.โมเดล ฟันจำลองพร้อมแปรง ราคาชุดละ 1,990 บาทจำนวน 1 ชุดเป็นเงิน 1,990 บาท 2.แปรงสีฟันเด็ก ด้ามละ 35 บาท จำนวน 80 ด้ามเป็นเงิน 2,800 บาท 3.ยาสีฟันเด็ก หลอดละ 40 บาท จำนวน 35 หลอด เป็นเงิน 1,400 บาท 4.ผ้าขนหนูขนาด 12x24 ผืนละ 35 บาท จำนวน 80 ผืน เป็นเงิน 2,800 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีวัสดุอุปกรณ์ในการส่งเสริมป้องกันสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
|
0 | 0 |
3. ประกวดหนูน้อยฟันสวย ฟันดี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
||
วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประกวดหนูน้อยฟันสวย ฟันดี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 5 คน 1.ค่าใบประกาศนียบัตร ใบละ 10 บาท จำนวน 5 ใบ เป็นเงิน 50 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียนมีสุขภาพช่องปากและฟันดี
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตัวชี้วัด : ลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
80.00 | 15.00 |
|
|
2 | เพื่อสร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและบริการป้องกันโรคฟันผุให้เด็ก ได้แก่ การตรวจสุขภาพช่องปาก การส่งเสริมให้มีการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์ทุกวัน ตัวชี้วัด : การตรวจสุขภาพช่องปาก การส่งเสริมให้มีการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์ทุกวัน |
80.00 | 15.00 |
|
|
3 | เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครู และชุมชนในการป้องกันโรคฟันผุในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตัวชี้วัด : การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครู และชุมชนในการป้องกันโรคฟันผุในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
70.00 | 15.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 80 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) เพื่อสร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและบริการป้องกันโรคฟันผุให้เด็ก ได้แก่ การตรวจสุขภาพช่องปาก การส่งเสริมให้มีการแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันฟลูออไรด์ทุกวัน (3) เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ครู และชุมชนในการป้องกันโรคฟันผุในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการอบรมส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) สาธิตการป้องกันโรคช่องปาก (3) ประกวดหนูน้อยฟันสวย ฟันดี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะบาตู(ผู้ปกครองนักเรียน) จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 66-L2540-3-
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนูรีดา ซือนิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......