กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู


“ โครงการส่งเสริมโภชนาการสมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านละหาน (66) ”

ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการสมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านละหาน (66)

ที่อยู่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 10/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมโภชนาการสมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านละหาน (66) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการสมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านละหาน (66)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการสมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านละหาน (66) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,260.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านละหาน มีการจัดเตรียมความพร้อมและมีการส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะสมแก่เด็ก เพื่อใช้เป็นสถานที่สำหรับการเตรียมความพร้อม ทั้งทางด้านร่างกายสติปัญญา อารมณ์ และสังคมให้แก่เด็ก ปัจจัยส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก ประกอบด้วยพันธุกรรมและสภาพแวดล้อมอื่นๆเช่น อาหารการกิน หรือ โภชนาการ การออกกำลังกาย ดนตรีและศิลปะ ความรัก ความท้าทายจากกิจกรรมและสิ่งแวดล้อมต่างๆ พัฒนาการ เป็นทักษะและความสามารถเฉพาะตามช่วงอายุเด็ก จึงต้องได้รับการส่งเสริมพัฒนาการ โดยการกระตุ้นการทำงานของสมอง อารมณ์ ร่างกาย และสังคม ตามช่วงจังหวะของศักยภาพการเรียนรู้ในแต่ละด้านอย่างเหมาะสม เด็กจึงจะได้ประโยชน์สูงสุดจากการฝึกฝนและเกิดกระบวนการเรียนรู้ เมื่อครอบครัวและชุมชนมีการเลี้ยงดูเด็กที่ดีแล้ว ก็จะเป็นการวางรากฐานในการพัฒนาคนให้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต
ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านละหาน สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลปะลุรู ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดให้มีการจัดโครงการส่งเสริมโภชนาการสมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อจะให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีภาวะโภชนาการที่สมบูรณ์ ที่ถูกต้องตามเกณฑ์ การดูแลเอาใจใส่เกี่ยวกับโภชนาการ และการมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง ทำให้เด็กมีพัฒนาการสมวัยในทุกๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา พร้อมที่จะเติบโตเป็นประชากรที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี
  3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครูและผู้ปกครองในการร่วมมือเฝ้าระวังโภชนาการสมวัยของเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการอบรม ให้ความรู้พัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
  2. ทำอาหารว่างที่มีประโยชน์สำหรับเด็ก (แซนด์วิชไส้ทูน่า/แซนด์วิชไส้ปูอัด)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 52
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
    1. ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี
    2. เด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิดโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
    3. การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง/ผู้นำชุมชนในการร่วมมือเฝ้าระวังโภชนาการสมวัยของเด็ก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมการอบรม ให้ความรู้พัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย

วันที่ 14 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ ๑ ขั้นตอนการดำเนินงาน ๑.๑ ประชุมครู                 ๑.๒ เขียนโครงการเพื่อเสนออนุมัติ   ๑.๓ วางแผนการดำเนินการ ๔.๑.๔ ดำเนินการตามแผนงานโครงการ ๔.๒ กิจกรรมโครงการ ๔.๒.๑ จัดกิจกรรมการบรรยาย/การอบรมส่งเสริมโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยวิทยากร ให้ความรู้แก่เด็ก ครู/ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง ๔.๒.๒ จัดกิจกรรมให้แก่เด็กและผู้ปกครองทดลองฝึกการทำอาหารเพื่อให้เกิดการทำงานให้มีประสิทธิภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครูและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะโภชนาการสมวัยของเด็กและลดปัญหาด้านภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านละหาน

 

0 0

2. ทำอาหารว่างที่มีประโยชน์สำหรับเด็ก (แซนด์วิชไส้ทูน่า/แซนด์วิชไส้ปูอัด)

วันที่ 14 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ ๑ ขั้นตอนการดำเนินงาน ๑.๑ ประชุมครู                 ๑.๒ เขียนโครงการเพื่อเสนออนุมัติ                 ๑.๓ วางแผนการดำเนินการ                 ๑.๔ ดำเนินการตามแผนงานโครงการ     ๒ กิจกรรมโครงการ             ๒.๑ จัดกิจกรรมการบรรยาย/การอบรมส่งเสริมโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยวิทยากร ให้ความรู้แก่เด็ก ครู/ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง             ๒.๒ จัดกิจกรรมให้แก่เด็กและผู้ปกครองทดลองฝึกการทำอาหารเพื่อให้เกิดการทำงานให้มีประสิทธิภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครูและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแลภาวะโภชนาการสมวัยของเด็กและลดปัญหาด้านภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านละหาน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
ตัวชี้วัด : เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครูและผู้ปกครองในการร่วมมือเฝ้าระวังโภชนาการสมวัยของเด็ก
ตัวชี้วัด : การมีส่วนร่วมของครูและผู้ปกครองในการร่วมมือเฝ้าระวังโภชนาการสมวัยของเด็ก
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 52
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 52
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย (2) เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี (3) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครูและผู้ปกครองในการร่วมมือเฝ้าระวังโภชนาการสมวัยของเด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการอบรม ให้ความรู้พัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย (2) ทำอาหารว่างที่มีประโยชน์สำหรับเด็ก (แซนด์วิชไส้ทูน่า/แซนด์วิชไส้ปูอัด)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมโภชนาการสมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านละหาน (66) จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด