กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร


“ โครงการเสริมสร้าง ไอคิว อีคิว ในเด็กวัยเรียนสำหรับผู้ปกครอง ”

ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวแวปาตีเมาะ แวบือราเฮง

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้าง ไอคิว อีคิว ในเด็กวัยเรียนสำหรับผู้ปกครอง

ที่อยู่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4120-01-08 เลขที่ข้อตกลง 09/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้าง ไอคิว อีคิว ในเด็กวัยเรียนสำหรับผู้ปกครอง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้าง ไอคิว อีคิว ในเด็กวัยเรียนสำหรับผู้ปกครอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้าง ไอคิว อีคิว ในเด็กวัยเรียนสำหรับผู้ปกครอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4120-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กุมภาพันธ์ 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กถือว่าทรัพยากรที่มีคุณค่ายิ่งต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต การที่เด็กจะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพนั้น เด็กจะต้องมีพัฒนาการที่สมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในปัจจุบันและอนาคต และการที่เด็กจะมีความสมบูรณ์ได้ในทุกๆด้านนั้น ย่อมต้องมีองค์ประกอบและปัจจัยหลายๆอย่าง และสิ่งที่สำคัญสุดที่จะส่งผลต่อการพัฒนาไอคิวอีคิวเด็กนั้นก็คือผู้ปกครองหรือผู้เลี้ยงดูเด็ก       กระทรวงสาธารณสุขจึงให้ความสำคัญกับการพัฒนาเด็กทุกกลุ่มวัย ได้แก่ เด็กปฐมวัย วัยเรียน และวัยรุ่น โดยมีจุดมุ่งหมายให้เด็กวัยเรียนได้รับการส่งเสริมไอคิวและอีคิวในวัยเรียน เพื่อให้เด็กมีความฉลาดทางสติปัญญาเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 100 ถือว่าเป็นไอคิวเฉลี่ยตามเกณฑ์มาตรฐานสากล และมีความฉลาดทางอารมณ์ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 70 และผลจากการสำรวจระดับสติปัญญาเด็กไทยของกรมสุขภาพจิต พ.ศ. 2559 กลุ่มตัวอย่าง เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทั่วประเทศจำนวน 23,641 คน พบว่าเด็กมีคะแนนไอคิวเฉลี่ยอยู่ที่ 98.2 ขณะที่เด็กในเขตอำเภอเมืองมีไอคิว 101.5 และเด็กในพื้นที่ กทม. มีไอคิวเฉลี่ย 103.4 ส่วนเด็กที่อยู่ในเขตบริการสุขภาพที่ 12 (7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง) มีคะแนนไอคิวเฉลี่ยอยู่ที่ 94.76 ซึ่งถือว่ามีไอคิวเฉลี่ยต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานสากลและผลจากการสำรวจไอคิวของเด็กจังหวัดยะลา มีคะแนนไอคิวเฉลี่ยอยู่ที่ 93.51
      ในการนี้ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแหร ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการส่งเสริมและพัฒนาสติปัญญาและอารมณ์ของเด็กวัยเรียน และส่งเสริมเพิ่มเติมการเรียนรู้ในกลุ่มเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ในพื้นที่ จึงจัดทำโครงการเสริมสร้าง ไอคิว อีคิว ในเด็กวัยเรียน เพื่อส่งเสริมทักษะชีวิต ความฉลาดทางสติปัญญาและวุฒิภาวะทางอารมณ์ของเด็กให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและสร้างสรรค์เพื่อเป็นความหวังของคนในพื้นที่และชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักเกี่ยวกับการส่งเสริมไอคิวและอีคิวในบุตรหลาน
  2. เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ได้รับการประเมิน ไอคิวและอีคิวร้อยละ 100

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมแกนนำอสม.และผู้เกี่ยวข้อง
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องการส่งเสริม ไอคิวและอีคิว และไปใช้ในการสังเกตและส่งเสริมพัฒนาการด้านความฉลาดทางความคิดและอารมณ์ของบุตรตนเองได้
  2. ผลจากการประเมินไอคิวและอีคิวเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ร้อยละ 80 เฉลี่ยปกติ
  3. เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่มีระดับไอคิวอีคิวผิดปกติได้รับการดูแลบำบัดรักษา

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมแกนนำอสม.และผู้เกี่ยวข้อง

วันที่ 13 มิถุนายน 2566 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแกนนำอสม.และผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 10 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้แนวทางและแนวปฏิบัติร่วมกันเพื่อสานต่องานเด็กให้เกิดเครือข่าย

 

10 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี

วันที่ 5 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้เรื่องพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี ในกลุ่มผู้ปกครอง จำนวน 2 รุ่น รุ่นที่ 1 วันที่5/7/2566 จำนวน 50 คน  ณ ห้องประชุมโรงเรียนบ้านแหร รุ่นที่ 2 วันที่ 12/7/2566 จำนวน 20 คน ณ ห้องประชุมโรงเรียนบ้านบัวทอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น กลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าร่วมอบรมได้ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการประเมินโครงการ การเสริมสร้าง ไอคิว อีคิว ในเด็กวัยเรียน ประจำปี 2566 นั้นมีการจัดกิจกรรมการส่งเสริม ให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง โดยจะแบ่งเป็น  2 รุ่น รุ่นที่ 1 โรงเรียนบ้านแหร ในวันที่ 5 กรกฎาคม 2566 50 คน และรุ่นที่ 2 โรงเรียนบ้านบัวทอง ในวันที่ 12 กรกฎาคม 2566 จำนวน 20 คน ซึ่งผู้เข้ารับการอบรมเป็นผู้ปกครองเด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
  โดยผู้เข้ารับการอบรมครั้งนี้ ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญความจำเป็นในการส่งเสริมพัฒนาสติปัญญา และอารมณ์ของเด็กวัยเรียน รวมถึงส่งเสริมเพิ่มเติมการเรียนรู้ในกลุ่มเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ในพื้นที่ ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมทักษะชีวิต ความฉลาดทางสติปัญญาและวุฒิภาวะทางอารมณ์ของเด็กให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและสร้างสรรค์เพื่อเป็นความหวังของคนในพื้นที่และชาติต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักเกี่ยวกับการส่งเสริมไอคิวและอีคิวในบุตรหลาน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเกี่ยวกับการส่งเสริมไอคิวและอีคิวในบุตรหลานเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
80.00 86.03

 

2 เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ได้รับการประเมิน ไอคิวและอีคิวร้อยละ 100
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 เด็กได้รับการประเมินไอคิวอีคิว
90.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70 70
กลุ่มวัยทำงาน 10 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักเกี่ยวกับการส่งเสริมไอคิวและอีคิวในบุตรหลาน (2) เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ได้รับการประเมิน ไอคิวและอีคิวร้อยละ 100

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมแกนนำอสม.และผู้เกี่ยวข้อง (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมสร้าง ไอคิว อีคิว ในเด็กวัยเรียนสำหรับผู้ปกครอง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4120-01-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวแวปาตีเมาะ แวบือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด