กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการประเมินโครงการ การเสริมสร้าง ไอคิว อีคิว ในเด็กวัยเรียน ประจำปี 2566 นั้นมีการจัดกิจกรรมการส่งเสริม ให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง โดยจะแบ่งเป็น  2 รุ่น รุ่นที่ 1 โรงเรียนบ้านแหร ในวันที่ 5 กรกฎาคม 2566 50 คน และรุ่นที่ 2 โรงเรียนบ้านบัวทอง ในวันที่ 12 กรกฎาคม 2566 จำนวน 20 คน ซึ่งผู้เข้ารับการอบรมเป็นผู้ปกครองเด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
  โดยผู้เข้ารับการอบรมครั้งนี้ ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญความจำเป็นในการส่งเสริมพัฒนาสติปัญญา และอารมณ์ของเด็กวัยเรียน รวมถึงส่งเสริมเพิ่มเติมการเรียนรู้ในกลุ่มเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ในพื้นที่ ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมทักษะชีวิต ความฉลาดทางสติปัญญาและวุฒิภาวะทางอารมณ์ของเด็กให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและสร้างสรรค์เพื่อเป็นความหวังของคนในพื้นที่และชาติต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักเกี่ยวกับการส่งเสริมไอคิวและอีคิวในบุตรหลาน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเกี่ยวกับการส่งเสริมไอคิวและอีคิวในบุตรหลานเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
80.00 86.03

 

2 เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ได้รับการประเมิน ไอคิวและอีคิวร้อยละ 100
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 เด็กได้รับการประเมินไอคิวอีคิว
90.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70 70
กลุ่มวัยทำงาน 10 10
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักเกี่ยวกับการส่งเสริมไอคิวและอีคิวในบุตรหลาน (2) เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ได้รับการประเมิน ไอคิวและอีคิวร้อยละ 100

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมแกนนำอสม.และผู้เกี่ยวข้อง (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh