กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา


“ โครงการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรรภ์ ”

ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
น.ส. ฟาอีซะห์ หะยีสาและ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรรภ์

ที่อยู่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L8278-01-001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรรภ์ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรรภ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรรภ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบันนังสตา อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L8278-01-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บันนังสตา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแล้วว่า มารดาที่ไม่ได้รับการดูแลระหว่างตั้งครรภ์ มีโอกาสที่จะได้รับอันตรายจากการตั้งครรภ์และการคลอดมากกว่าและรุนแรงกว่าผู้ที่ได้รับการตรวจและดูแลอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอ โดยเฉพาะมารดารที่มีความเสี่ยงสูง และการดูแลระหว่างตั้งครรภ์ที่ถูกต้องเหมาะสมสามารถจัดการแก้ไขรักษาหรือควบคุมโรคและภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่มีอันตรายต่อการตั้งครรภ์ไม่ให้เกิดขึ้น หรือไม่รุนแรงจนเป็นอันตรายต่อมารดาและทารก ตลอดจนการเตรียมสุขภาพกายและจิตใจของมารดา ให้สมบูรณ์เพียงพอต่อการคลอดแล้วก็สามารถลดอันตรายจาการตั้งครรภ์และการคลอดลดลงไปได้มาก ภาวะเสี่ยงต่างๆที่อาจเกิดขึ้นกับมารดาและทารกในครรภ์อาจเกิดอันตรายหรือเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างการตั้งครรภ์ และขณะคลอดได้และอาจถึงขั้นการสูญเสียชีวิต เช่น มารดาอายุน้อยกว่า๒๐ ปี หรือมากกว่า ๓๕ ปี , เคยคลอดบุตรมากว่า ๔ คนขึ้นไป , มีเลือดออกระหว่างตั้งครรภ์ การเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด ภาวะ pre-eclampsia (ภาวะครรภ์เป็นพิษ) และ eclampsia (ภาวะครรภ์เป็นพิษและมีอาการชัก) ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ ทารกมีความพิการแต่กำเนิด ทารกตายในครรภ์ได้ การตรวจเลือดเพื่อค้นหาความผิดปกติต่างๆ เช่น ภาวะซีด การติดเชื้อซิฟิลิสทำให้ทารกเกิดภาวะบวมน้ำ (Hydropsfetalis) ที่เสียชีวิตได้ การเป็นพาหะโรคไวรัสตับอักเสบบี การติดเชื้อเอชไอวีการตรวจคัดกรองพาหะโรคธาลัสซีเมีย ตรวจหาหมู่เลือด และการตรวจปัสสาวะเพื่อค้นหาการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ ซึ่งในเขตความรับผิดชอบของรพ.สต.บือซู การตั้งครรภ์ของสตรีที่อายุน้อยกว่า ๒๐ ปี และอายุมากกว่า ๓๕ ปี รวมถึงหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงยังคงมีจำนวนที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี ซึ่งจะส่งผลต่อภาวะเสี่ยงต่างๆมากมาย ดังนั้นการที่หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์ตั้งแต่เนิ่นๆจะช่วยลดระดับความรุนแรงของภาวะเสี่ยงต่างๆลงได้ รวมไปถึงบุคคลใกล้ชิดหญิงตั้งครรภ์จำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจในภาวะอันตรายต่างๆที่มีต่อหญิงตั้งครรภ์และทารกและจำเป็นต้องช่วยกันดูแลหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งนั้นคือจุดมุ่งหมายของการบริการฝากครรภ์ "ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย"           ดังนั้นทางรพ.สต.บ้านบือซูจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์นี้ขึ้น การที่หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์ตั้งแต่เนิ่นๆจะช่วยลดระดับความรุนแรงของภาวะเสี่ยงต่างๆลงได้ รวมไปถึงบุคคลใกล้ชิดหญิงตั้งครรภ์จำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจในภาวะอันตรายต่างๆที่มีต่อหญิงตั้งครรภ์และทารกและจำเป็นต้องช่วยกันดูแลหญิงตั้งครรภ์ ตลอดจนในหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ที่มีคุณภาพมีการปฏิบัติตนได้ถูกต้องระหว่างตั้งครรภ์ เพื่อส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการป้องกันและปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจาง
  3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์ 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพชีวิตของมารดาและทารก
  4. เพื่อลดภาวะเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์คลอดและทารกในครรภ์ขณะคลอด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดอบรมเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์
  2. กิจกรรมคัดกรองหญิงวัยเจริญพันธ์
  3. อบรมเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์
  4. คัดกรองหญิงวัยเจริญพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 130
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัว การดูแลครรภ์ขณะตั้งครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงที่ถูกต้อง ร้อยละ 85

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ร้อยละ 75

 

2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการป้องกันและปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจาง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการป้องกันและปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 10

 

3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์ 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพชีวิตของมารดาและทารก
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์ครบ 5 คั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 75

 

4 เพื่อลดภาวะเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์คลอดและทารกในครรภ์ขณะคลอด
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์คลอดลูกปลอดภัยทั้งแม่และลูกร้อยละ 100

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 130
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการป้องกันและปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจาง (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์ 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพชีวิตของมารดาและทารก (4) เพื่อลดภาวะเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์คลอดและทารกในครรภ์ขณะคลอด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์ (2) กิจกรรมคัดกรองหญิงวัยเจริญพันธ์ (3) อบรมเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรภ์ (4) คัดกรองหญิงวัยเจริญพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยงสูงในหญิงตั้งครรรภ์ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L8278-01-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น.ส. ฟาอีซะห์ หะยีสาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด