กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้คณะกรรมการชมรมฯ เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) มีความรู้เรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี Fit test
ตัวชี้วัด : คณะกรรมการชมรมฯ เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลลางา อย่างน้อยร้อยละ 90 มีความรู้เรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และมีทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี Fit test
90.00 90.00

 

2 เพื่อค้นหาและป้องกันภาวะเสี่ยงจากมะเร็งลำไส้ใหญ่เพื่อให้ได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรกในกลุ่มประชากร อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ด้วยการสุ่มอย่างง่าย ของประชาชนอายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง ตำบลลางา ได้รับการตรวจภาวะเสี่ยงจากมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยวิธี Fit Test
50.00 50.00

 

3 เพื่อให้ประชาชน อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง ที่มีผลการตรวจ Fit Test Positive ได้รับการส่งต่อ
ตัวชี้วัด : ประชาชน อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง ที่มีผลการตรวจ Fit TestPositive ได้รับการส่งต่อทุกราย
70.00 70.00

 

4 เพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะลุกลาม
ตัวชี้วัด : ประชาชนทีตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงที่มีผลผิดปกติได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที ไม่เกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง ระยะลุกลาม
90.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คณะกรรมการชมรมฯ เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) มีความรู้เรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี Fit test (2) เพื่อค้นหาและป้องกันภาวะเสี่ยงจากมะเร็งลำไส้ใหญ่เพื่อให้ได้รับการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรกในกลุ่มประชากร อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง (3) เพื่อให้ประชาชน อายุ 50-70 ปี และผู้มีปัจจัยเสี่ยง ที่มีผลการตรวจ Fit Test  Positive ได้รับการส่งต่อ (4) เพื่อลดอัตราการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะลุกลาม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมทีมงานและเครือข่ายในพื้นที่ (2) กิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย (3) แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh