กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการรณรงค์ป้องกัน ควบคุมการแพร่ระบาดโรคพิษสุนัขบ้าภายในตำบลอุใดเจริญ (ภายใต้โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธานศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารี)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ


“ โครงการรณรงค์ป้องกัน ควบคุมการแพร่ระบาดโรคพิษสุนัขบ้าภายในตำบลอุใดเจริญ (ภายใต้โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธานศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารี) ”

ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกัน ควบคุมการแพร่ระบาดโรคพิษสุนัขบ้าภายในตำบลอุใดเจริญ (ภายใต้โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธานศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารี)

ที่อยู่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5282-5-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 ตุลาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกัน ควบคุมการแพร่ระบาดโรคพิษสุนัขบ้าภายในตำบลอุใดเจริญ (ภายใต้โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธานศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารี) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกัน ควบคุมการแพร่ระบาดโรคพิษสุนัขบ้าภายในตำบลอุใดเจริญ (ภายใต้โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธานศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารี)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกัน ควบคุมการแพร่ระบาดโรคพิษสุนัขบ้าภายในตำบลอุใดเจริญ (ภายใต้โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธานศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารี) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5282-5-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 ตุลาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 124,543.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินงานโครงการรณรงค์ป้องกัน ควบคุมการเพร่ระบาดโรคพิษสุนัขบ้าภายในตำบลอุใดเริญเป็นกิจกรรมภายใต้(ภายใต้โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปริธานศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารี) โรคพิษสุนัขบ้าหรือโรคกลัวน้ำ(Hydrophobia)เป็คติดเชื้อของระบบประสาทส่วนกลาง ที่มีอันตรายร้ายแรงถึงชีวิต พบในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด ทั้งสัตว์เลี้ยงและสัตวืป่า สามารถติดต่อมาสู่มนุษย์ได้ ในประเทศไทยสัตว์พาหะนำโรคที่สำคัญคือสุนัขและแมว(ข้อมูลจาก สำนักควบคุม ป้องกันและบำบัดโรค,2559)โรคพิาสุนัขบ้าเกิดจากเรบี่ไวรัส (Rabies virus) ซึ่งเป็นอาร์ เอน เอ ไวรัส (RNA virus)มีการติดต่อจากสัตว์ป่วยที่มีเชื้อไวรัสอยู่ในร่างกายไปสู่มนุษย์หรือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมตัวอื่น(ผ่านทางน้ำลาย)โดยผ่านการกัด การข่วน และเลียบริเวณที่มีบาดแผล ระยะฟักตัวของโรคพิษสนุขบ้าตั้งแต่เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายจนก่อให้แสดงอาหการของโรคโดยสามารถพบได้นานถึง 6เดือน ซึ่งจะต่างกันไปตามชนิดสัตว์ สำหรับระยะการฟักตัวของโรคพิษสุนัขบ้าในคน จะใช้เวลาประมาณ 2-8 สัปดาห์ หรืออาจจะสั้นเพียง 5 วัน แต่ในบางรายอาจยาวนานเป็นปีได้ โดยระยะฟักตัวจะสั้นหรือยาวนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆดังนี้ ความรุนแรงของบาดแผล บริเวณที่ถูกกัด ระยะห่างของบาดแผลกับสมอง และเชื้อจากสัตว์ป่าซึ่งอันตรายกว่าสัตว์เลี้ยง ทั้งนี้ในปีงบงบประมาณ 2560 (ช่วงเดือรกรกฏาคม-กันยายน 2560)พื้นที่ตำบลอุใดเจริญได้รับรายงานผลวิเคราะห์ ทดสอบและชันสูตรโรคสัตว์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคใต้ตอนบน กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยผลการตรวจสภาพและคุณลักษระตัวอย่างอวัยวะ(หัสสุนัขที่สงสัย)พบเชื้อไวรัสโรคพิษสุนัขบ้าในสมองสุนัขโดยวิธี Direct Fluorescent Antibody(DFA)จำนวน 4 ตัวอย่าง ในพื้นที่หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 4และหมู่ที่ 5 กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมจึงเป็นกังวลในเรื่องความปลอดภัยของชีวิต ของประชาชนเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นโรคสัตว์ติดสัตว์ โรคสัตว์ติดคน และถ้าเป็นคนก็มีโอกาสที่จะติดคน ซึ่งกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญเล็งเห็นถึงความอันตรายที่จะเกิดขึ้นต่อสัตว์และโดยเฉพาะประชาชนในตำบลอุใดเจริญจึงต้องรีบดำเนินการรณรงค์ ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค จึงได้จัดโครงการรณรงค์ ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดโรคพิษสุนัขบ้าภายในตำบล อุใดเจริญขึ้น โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากองทุนหลักประกันสุขภาพ เนื่องจากเป็นการส่งเสริมการป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคในตำบลอุใดเจริญให้กับประชาชนได้เกิดความปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้าที่มีสัตว์เป็นพาหะนำโรคหรือแพร่ระบาดของโรคมาสู๋คน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องพิษสุนัขบ้าให้แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลอุใดเจริญ
  2. เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคพิษสนุขบ้าในสัตว์เลี้ยงและสัตว์เร่ร่อนซึ่งเป็นพาหะนำโรค
  3. เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการเกิดโรคพิษสนุขบ้าในพื้นที่
  4. ลดการเพิ่มจำนวนประชากรของสุนัขและแมว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,156
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับภัยอันตราย การป้องกันและ การควบคุมการแพร่ระบาดของโรคพิษสุนัขบ้า
    2. สัตว์เลี้ยงหรือสัตว์เร่รอนโดยเฉพาะสุนัขและแมวซึ่งเป็นพาหะนำโรค ได้รับการฉีควัควีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
    3. พื้นที่ตำบลอุใดเจริญไม่มีรายงานการเกิดโรคพิษสุนัขบ้าในปี 2561

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องพิษสุนัขบ้าให้แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลอุใดเจริญ
    ตัวชี้วัด : 1. การประชาสัมพันธ์ รณรงค์ส่งเสริมความรู้ครอบคลุมทั้ง 9 หมู่บ้าน

     

    2 เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคพิษสนุขบ้าในสัตว์เลี้ยงและสัตว์เร่ร่อนซึ่งเป็นพาหะนำโรค
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ90 ของจำนวนสัตว์ที่ขึ้นทะเบียนได้รับการฉีควัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า

     

    3 เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการเกิดโรคพิษสนุขบ้าในพื้นที่
    ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนตื่นตัวในการนำสัตว์เลี้ยงมาฉีควัคซีน 2. ประชาชนมีการเฝ้าระวังและแจ้งเหตุหากสงสัย

     

    4 ลดการเพิ่มจำนวนประชากรของสุนัขและแมว
    ตัวชี้วัด : 1. สัตว์เลี้ยง/สัตว์เร่ร่อน(สุนัขและแมว)ได้รับการทำหมัน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 6156
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,156
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องพิษสุนัขบ้าให้แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลอุใดเจริญ (2) เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคพิษสนุขบ้าในสัตว์เลี้ยงและสัตว์เร่ร่อนซึ่งเป็นพาหะนำโรค (3) เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการเกิดโรคพิษสนุขบ้าในพื้นที่ (4) ลดการเพิ่มจำนวนประชากรของสุนัขและแมว

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์ป้องกัน ควบคุมการแพร่ระบาดโรคพิษสุนัขบ้าภายในตำบลอุใดเจริญ (ภายใต้โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า ตามพระปณิธานศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารี) จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 61-L5282-5-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด