กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ การส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนตำบลตันหยงจึงงา ปีงบประมาณ พ.ศ.2566
รหัสโครงการ 66-L3044-1-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงจึงงา
วันที่อนุมัติ 20 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 กุมภาพันธ์ 2566 - 29 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 18,150.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางนัสรียา สะอุ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตันหยงจึงงา อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.781,101.439place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาเรื่องทันตสุขภาพของเด็กก่อนวัยเรียน นับเป็นปัญหาหนึ่งที่มีความสำคัญ เพราะเด็กเป็นทรัพยากรที่สำคัญในการพัฒนาประเทศ ดังนั้นเด็กจึงมีความจำเป็นที่จะต้องได้รับการพัฒนาทุกๆด้านไปพร้อมๆกัน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา อันหมายถึงการมีสุขภาพดี
สุขภาพช่องปากถือเป็นประตูนำไปสู่การมีสุขภาพร่างกายที่ดีเนื่องจากฟันผุในฟันน้ำนมส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก การมีฟันน้ำนมผุหลายซี่ในช่องปาก ส่งผลต่อการรับประทานอาหาร จึงอาจทำให้เด็กขาดสารอาหารเรื้อรัง และการมีฟันน้ำนมผุ ยังมีความสัมพันธ์กับภาวะแคระแกรนของเด็กด้วย จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพของอำเภอยะหริ่ง ปี2565 พบว่าอัตราฟันผุในเด็กปฐมวัย (อายุ 3 ปี – 3 ปี 11 เดือน 29 วัน) มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 28.35 ร้อยละการตรวจ 27.33 ( 2566) สาเหตุการเกิดโรคฟันผุส่วนใหญ่ในเด็กก่อนวัยเรียน เกิดจากการเลี้ยงดูของผู้ปกครอง เนื่องจากการรักษาโรคฟันผุในเด็กก่อนวัยเรียนทำได้ยากเพราะเด็กให้ความร่วมมือน้อย แนวทางที่หมาะสมสำหรับเด็กกลุ่มนี้ควรจะเน้นไปที่การป้องกันการเกิดฟันผุตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นซึ่งสามารถป้องกันได้อย่างมีประสิทธิภาพหากได้รับการดูแลอย่างถูกวิธี ในการพัฒนาใดๆก็ตาม เด็กวัยนี้ต้องการความช่วยเหลือสนับสนุนอย่างมากจากพ่อแม่

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ร้อยละของเด็กวัยก่อนเรียน(อายุต่ำกว่า 5 ปี) มีฟันผุลดลง

เด็กก่อนวัยเรียนมีฟันผุลดลงร้อยละ 5 ของปีที่ผ่านมา

65.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน มีฟันผุลดลง 2.มารดา/ผู้ปกครอง/ครูศูนย์เด็กมีความรู้ในการดูแลสุขภาพฟันของเด็กเพิ่มขึ้น 3.อาสาสมัครสาธารณสุขสาขาทันตะ มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพในช่องปากเพิ่มขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 ก.พ. 2566 11:59 น.