กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง


“ โครงการร่วมมือร่วมใจฝากครรภ์ดีมีคุณภาพป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดในเขตตำบลตะบิ้ง ปีงบประมาณ 2566 ”



หัวหน้าโครงการ
นางสาวสูซานา ดือราแม

ชื่อโครงการ โครงการร่วมมือร่วมใจฝากครรภ์ดีมีคุณภาพป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดในเขตตำบลตะบิ้ง ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ L3053-66-1-03 เลขที่ข้อตกลง 03/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 21 มีนาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร่วมมือร่วมใจฝากครรภ์ดีมีคุณภาพป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดในเขตตำบลตะบิ้ง ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร่วมมือร่วมใจฝากครรภ์ดีมีคุณภาพป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดในเขตตำบลตะบิ้ง ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร่วมมือร่วมใจฝากครรภ์ดีมีคุณภาพป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดในเขตตำบลตะบิ้ง ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ L3053-66-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 21 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,842.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การคลอดก่อนกำหนด คือการคลอดก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ ซึ่งจะแบ่งเป็น 3 ประเภท 1.spontaneous preterm birth 2, Indicated preterm birth 3. preterm rupture ปัจจัยเสี่ยงได้แก่ ประวัติเคยคลอดก่อนกำหนด ผ่าตัดมดลูก อายุมารดา มีเลือดออกทางช่องคลอด การติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะ หรือระบบอวัยะวะสืบพันธุ์ เขตสุขภาพที่ 5 มีทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน ร้อยละ 20.6 ทารกแรกเกิด น้ำหนักน้อยกว่า 2500 กัมร้อยละ 8.95
การฝากครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากรเริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์ เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อนและการคลอดก่อนกำหนด การคลอดก่อนกำหนดเป็นสาเหตุสำคัญของการตายและภาวะทุพพลภาพของทารกแรกเกิด ปัญหาการคลอดก่อนกำหนด เกิดจากปัจจัยเสี่ยงทั้งด้านกายภาพ ชีวภาพ สารเคมี สิ่งแวดล้อม และจิตสังคม ซึ่งมีผลทำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนด เช่น การปฏิบัติตนของมารดา เรื่องโภชนาการขณะตั้งครรภ์ การใช้ยาและสารเสพติด และการติดตามทารกในครรภ์ ผลกระทบจากการที่มารดาคลอดก่อนกำหนด มารดาต้องพักรักษาตัวเป็นเวลานาน ส่งผลต่อการดำเนินชีวิต เกิดปัญหาต่างๆตามมามากมาย นอกจากนี้บุตรที่คลอดก่อนกำหนด จะมีน้ำหนักตัวน้อย เจ็บป่วยง่าย มารดาต้องดูแลบุตรอย่างใกล้ชิด ส่งผลให้มารดามีความวิตกกังวล สุขภาพร่างกายไม่แข็งแรง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์การฝากครรภ์คุณภาพ
  2. เพื่อป้องกันและลดโอกาสการคลอดก่อนกำหนด
  3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ ความตระหนัก การดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มารดาและทารกปลอดภัยปราศจากภาวะแทรกซ้อนและการคลอดก่อนกำหนด
  2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้และสามารถดูแลสุขภาพตัวเองได้ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์

วันที่ 23 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ 1. รวบรวมข้อมูล เขียนโครงการและเสนอขออนุมัติดำเนินงาน 2. ประสานหน่วยงาน ผู้เกี่ยวข้อง และกลุ่มเป้าหมาย 3. ทำการสำรวจหญิงตั้งครรภ์ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง 4. จัดทำข้อมูลจำนวนหญิงตั้งครรภ์ในเขตพื้นที่ตำบลตะบิ้ง และจัดตั้งกลุ่ม Application Line เพื่อเผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรู้และความตระหนักเรื่องอันตรายของการคลอดก่อนกำหนดสีญญาณเตือนที่ต้องไปโรงพยาบาลและการฝากครรภ์ภายใน 12 สัปดาห์เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ให้กับประชาชนทั่วไป สามีและญาติของหญิงตั้งครรภ์ 5. สรุปและประเมินผลโครงการรายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารรับทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หญิงตั้งครรภ์จากการฝึกอบรมได้ความรู้จากการฝึกอบรมครั้งนี้มากขึ้น และดูแลตัวเองอย่างถูกต้อง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินโครงการร่วมมือร่วมใจฝากครรภ์ดีมีคุณภาพป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดในเขตตำบลตะบิ้ง ปีงบประมาณ 2566 ทำให้มีข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง และหญิงตั้งครรภ์ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้งมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวข้องเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ มีที่ปรึกษาตลอดการตั้งครรภ์และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหญิงตั้งครรภ์ในกลุ่ม Application Line

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์การฝากครรภ์คุณภาพ
ตัวชี้วัด :
60.00

 

2 เพื่อป้องกันและลดโอกาสการคลอดก่อนกำหนด
ตัวชี้วัด :
100.00

 

3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ ความตระหนัก การดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด :
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ตามเกณฑ์การฝากครรภ์คุณภาพ (2) เพื่อป้องกันและลดโอกาสการคลอดก่อนกำหนด (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ ความตระหนัก การดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการร่วมมือร่วมใจฝากครรภ์ดีมีคุณภาพป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนดในเขตตำบลตะบิ้ง ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ L3053-66-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสูซานา ดือราแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด