กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน


“ โครงการสุ่มยาสมุนไพรบรรเทาอาการหวัด ปี 2566 รพ.สต.บ้านกูบู ”

ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางน้ำฝน พรหมน้อย

ชื่อโครงการ โครงการสุ่มยาสมุนไพรบรรเทาอาการหวัด ปี 2566 รพ.สต.บ้านกูบู

ที่อยู่ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2486-1-06 เลขที่ข้อตกลง 6/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุ่มยาสมุนไพรบรรเทาอาการหวัด ปี 2566 รพ.สต.บ้านกูบู จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุ่มยาสมุนไพรบรรเทาอาการหวัด ปี 2566 รพ.สต.บ้านกูบู



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุ่มยาสมุนไพรบรรเทาอาการหวัด ปี 2566 รพ.สต.บ้านกูบู " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2486-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 31 พฤษภาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 30 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การแพทย์แผนไทย เป็นบริการทางการแพทย์ที่ได้เริ่ม เปิดให้บริการ ใน รพ.สต.บ้านกูบู ในปี 2561 ด้วยรัฐบาลเล็งเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาและสมุนไพรไทย ที่ใช้ดูแลสุขภาพของคนไทยมาเป็นระยะเวลานาน และกำลังจะสูญหาย จึงสนับสนุนให้สถานพยาบาลเปิดบริการแพทย์แผนไทยและส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรขึ้น การสุ่มยาเป็นหัตถการหนึ่งในทางการแพทย์แผนไทยที่ใช้ในการดูแลระบบทางเดินหายใจ คือ การใช้ความร้อนชื้นจากไอน้ำเป็นตัวพาน้ำมันหอมระเหยจากยาสมุนไพรที่มีฤทธิ์ในการช่วยขยายทางเดินหายใจ เพื่อเพิ่มการไหลเวียนให้หายใจได้ดีขึ้น เหมาะกับผู้ที่มีภาวะเสมหะมากในทางเดินหายใจ ลดอาการไอ จาม หายใจติดขัด และภูมิแพ้ สมุนไพรที่นำมาใช้ในการสุมยา เป็นสมุนไพรที่มีกลิ่นน้ำมันหอมระเหย เช่น หอมแดง ตะไคร้ ขิง หรือผิวมะกรูด ซึ่งเป็นพืชสมุนไพรที่หาได้ง่ายในครัวเรือน พื้นที่ รับผิดชอบ ของ รพ.สต.บ้านกูบู มีผู้ป่วยมารับยารักษาอาการ ไอ มีเสมหะ จาม หายใจติดขัด และภูมิแพ้ จำนวน 949 คน 1,639 ครั้ง เนื่องจากเป็นอาการป่วยที่พบบ่อยในช่วงฤดูฝน ฤดูหนาว หรือช่วงที่อากาศเปลี่ยนแปลงและยังเป็นอาการที่เกิดจากติดเชื้อไวรัส COVID–19 อีกด้วย โดยจะได้รับการรักษาด้วยยา Dextromethorphan หรือ chlorpheniramine maleate ตามอาการ และเพื่อส่งเสริมให้นำสมุนไพรภายในครัวเรือนมาเป็นยา จึงได้จัดทำโครงการสุ่มยาสมุนไพรบรรเทาอาการหวัด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถนำสมุนไพรในครัวเรือนมาดูแลสุขภาพของตนเอง
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้เรื่องการสุ่มยา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้เกี่ยวกับการสุ่มยาแก่ผู้เข้าร่วมอบรม และสอนวิธีการสุ่มยาสมุนไพร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนเข้าถึงบริการทางการแพทย์แผนไทย เพิ่มมากขึ้น 2.ผู้ป่วยที่มีปัญหาเสมหะมาก ไอ หายใจติดขัด และภูมิแพ้ ได้รับการดูแล


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้เกี่ยวกับการสุ่มยาแก่ผู้เข้าร่วมอบรม และสอนวิธีการสุ่มยาสมุนไพร

วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ให้ความรู้เกี่ยวกับการสุ่มยาสมุนไพร พร้อมสาธิตวิธีการสุ่มยา 2.ให้บริการสุ่มยาสมุนไพรวันละ 1 ครั้ง ติดต่อกันเป็นเวลา 3 วัน
3.ประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ 4.ประชาสัมพันธ์การบริการทางการแพทย์แผนไทยและให้บริการทุกวัน 5.สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ป่วยที่มีอาการ เสมหะมาก ไอ หายใจติดขัด และภูมิแพ้ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ และการดูแลตนเอง ร้อยละ 100 2.ผู้ป่วย มีอาการเสมหะมาก ไอ หายใจติดขัด และภูมิแพ้ ลดลง ร้อยละ 86.66

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถนำสมุนไพรในครัวเรือนมาดูแลสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้ป่วยที่มีอาการ เสมหะมาก ไอ หายใจติดขัด และภูมิแพ้ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ และการดูแลตนเอง
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้เรื่องการสุ่มยา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของผู้ป่วย มีอาการเสมหะมาก ไอ หายใจติดขัด และภูมิแพ้ ลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถนำสมุนไพรในครัวเรือนมาดูแลสุขภาพของตนเอง (2) เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้เรื่องการสุ่มยา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้เกี่ยวกับการสุ่มยาแก่ผู้เข้าร่วมอบรม และสอนวิธีการสุ่มยาสมุนไพร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุ่มยาสมุนไพรบรรเทาอาการหวัด ปี 2566 รพ.สต.บ้านกูบู จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2486-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางน้ำฝน พรหมน้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด