กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต


“ โครงการชุมชนเข้มแข็ง ต้านภัยบุหรี่และยาเสพติด ประจำปี 2566 ”

ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางฟาตีมะห์ ฮะยีอาซัน

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนเข้มแข็ง ต้านภัยบุหรี่และยาเสพติด ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L8423-1-01 เลขที่ข้อตกลง 06/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 31 พฤษภาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนเข้มแข็ง ต้านภัยบุหรี่และยาเสพติด ประจำปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนเข้มแข็ง ต้านภัยบุหรี่และยาเสพติด ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนเข้มแข็ง ต้านภัยบุหรี่และยาเสพติด ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L8423-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 31 พฤษภาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,350.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาที่มีความสำคัญโดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตของคนไทยในระดับต้นๆในจำนวนโรคไม่ติดต่อทั้งหลาย โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญตั้งแต่ระดับประเทศจนมาถึงระดับพื้นที่มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีอัตราการเกิดโรคและเกิดผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มในอัตราที่สูงทุกปี มีการเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากสาเหตุของโรคดังกล่าวนี้เป็นจำนวนมาก ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่มีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ประชาชนขาดการเอาใจใส่และไม่ตระหนักในการดูแลสุขภาพเท่าที่ควร เช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ประชาชนชอบรับประทานอาหารตามใจปาก ไม่เอาใจใส่คัดสรรเลือกรับประทานอาหารเฉพาะที่เป็นประโยชน์ตามหลักโภชนาการ นิยมบริโภคอาหารหวาน มันและเค็ม พฤติกรรมการออกกำลังกายที่ประชาชนยังขาดการออกกำลังกายโดยเฉพาะในกลุ่มคนทำงานในสำนักงาน พฤติกรรมด้านอารมณ์ความเครียดต่างๆ ตลอดจนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ที่ยังคงเป็นปัญหาที่สำคัญที่ต้องเอาใจใส่และแก้ปัญหาอย่างจริงจังไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าการแก้ปัญหาพฤติกรรมสุขภาพด้านอื่นๆที่กล่าวมาข้างต้น ในปี 2565 ถึงปัจจุบัน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเก ได้มีความพยายามและดำเนินการแก้ปัญหาในเรื่องโรคไม่ติดต่ออย่างต่อเนื่อง เป็นปัญหาที่เป็นนโยบายสูงสุดของหน่วยบริการที่ต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาทั้งระยะสั้นและระยะยาวอย่างต่อเนื่องและสอดคล้องตามบริบทของพื้นที่หรือเป็นไปตามครรลองศาสนาอิสลาม ในสองปีที่ผ่านมาได้มีความพยายามที่จะสร้างสรรค์รูปแบบบริการและการส่งเสริมสุขภาพตามวิถีมุสลิม ซึ่งจะเห็นได้ว่าในสองปีที่ผ่านมาล้วนแต่เป็นนวัตกรรมทั้งสิ้น โดยได้มุ่งเน้นในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยเฉพาะในเรื่องของการบริโภคอาหารเป็นสำคัญ จึงได้คิดค้นตัวกิจกรรมและรูปแบบบริการเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในด้านการบริโภคอาหารที่สอดคล้องกับการดำเนินชีวิตของผู้คนในพื้นที่ สอดคล้องกับวิถีความเชื่อตามหลักศาสนาอิสลาม ตลอดจนเป็นไปตามความต้องการของประชาชน ซึ่งจากการแก้ปัญหาในปีที่ผ่านมาประสบความสำเร็จเป็นที่น่าพอใจ แต่อย่างไรก็ตามจากการวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคจากการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาพบว่าประการหนึ่งที่สำคัญที่ส่งผลทำให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อต่อความดันโลหิตสูงและเบาหวานก็คือปัญหาเรื่องการสูบบุหรี่ ต้องยอมรับว่าในปีที่ผ่านมาที่แก้ไขปัญหา เรื่องบุหรี่ไม่ได้รับการเอาใจใส่เท่าที่ควร ทั้งที่ตัวเลขจากการสำรวจข้อมูลของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในปี 2563 ที่ผ่านมาพบว่าในกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวมีอัตราการสูบบุหรี่อยู่ในอัตราที่สูงพอสมควรคือ ร้อยละ 21.56 (จำนวน 631 คน) ด้วยตัวเลขดังกล่าวจำเป็นที่จะต้องได้รับการเอาใจใส่และแก้ไขปัญหาอย่างจริงจังไม่แพ้ในเรื่องของการแก้ปัญหาพฤติกรรมด้านการบริโภคอาหารและพฤติกรรมด้านอื่นๆที่ต้องดำเนินการอย่างควบคู่กันไป และจำเป็นที่จะต้องสร้างสรรค์กิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาเรื่องบุหรี่ที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่และวิถีมุสลิมเช่นกัน ปัญหาเรื่องบุหรี่เป็นปัญหาที่ยากในการแก้ไข การแก้ปัญหาจึงต้องจริงจัง เอาใจใส่ติดตามต่อเนื่องและแก้ปัญหาตามความต้องการของประชาชน เพราะไม่เช่นนั้นการแก้ปัญหาจะไม่ได้ผล กลุ่มเป้าหมายไม่สามารถเลิกบุหรี่ได้หรือผู้ที่เลิกแล้วอาจจะไม่เลิกอย่างเด็ดขาดและตัดสินใจกลับมาสูบอีก ในกลุ่มเป้าหมายเองก็ยากที่จะแก้ปัญหาเพราะการเลิกบุหรี่ต้องเป็นกลุ่มเป้าหมายที่สมัครใจและตั้งใจจริงในการลด ละ เลิกบุหรี่ด้วยตนเอง บุหรี่จึงเป็นปัญหาที่ต้องจริงจังกันทั้งสองฝ่ายทั้งกลุ่มของผู้ให้บริการและกลุ่มของผู้รับบริการ การคัดสรรกิจกรรมหรือการคิดค้นนวัตกรรมรูปแบบการส่งเสริมสุขภาพเพื่อเลิกบุหรี่จึงต้องเป็นการแก้ปัญหาที่เป็นไปตามบริบทของพื้นที่และเป็นไปตามที่กลุ่มเป้าหมายต้องการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเก จึงได้คิดค้นนวัตกรรมรูปแบบการเลิกบุหรี่ที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ เป็นไปตามครรลองของศาสนาอิสลาม และเป็นรูปแบบกิจกรรมที่พัฒนามาจากผลการวิจัยด้านบุหรี่ในพื้นที่ เป็นข้อมูลประกอบกันให้ได้มาซึ่งตัวกิจกรรมและกระบวนการของการแก้ปัญหาที่ได้ผลจริงทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ตลอดจนที่สำคัญที่สุดคือกลุ่มเป้าหมายจะมิใช่เพียงแค่สามารถเลิกบุหรี่ได้แต่ในตัวกิจกรรมนั้นกลุ่มเป้าหมายจะสามารถยกระดับศรัทธาและศาสนาของตนเองให้ดีขึ้นควบคู่ไปด้วย “ได้ทั้งสุขภาพดี ได้ทั้งบุญ” นี่คือจุดมุ่งหมายสูงสุขของหน่วยบริการแห่งนี้ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเก จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของ โครงการชุมชนเข้มแข็ง ต้านภัยบุหรี่และยาเสพติด ปี 2566 เพื่อดำเนินการแก้ปัญหาในเรื่องบุหรี่และยาเสพติดให้ได้ผลทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถลดละเลิกบุหรี่ได้สำเร็จ
  2. เพื่อให้สามารถป้องกันนักสูบบุหรี่หน้าใหม่ได้สำเร็จ
  3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายรู้ถึงพิษภัยของยาเสพติด และสามารถป้องกันตัวเองและครอบครัวให้ห่างไกลจากยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 160
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ลดปริมาณของผู้สูบบุหรี่และมาตรการในการเฝ้าระวังการป้องกันนักสูบหน้าใหม่ต่อเนื่อง
    2. ชุมชนสามารถดำเนินการด้านสุขภาพได้เองภายใต้ความร่วมมือของทุกภาคส่วนในชุมชนในการจัดการสุขภาพ นำมาซึ่งการดำเนินงานด้านสุขภาพในพื้นที่ที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และยั่งยืน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถลดละเลิกบุหรี่ได้สำเร็จ
    ตัวชี้วัด : เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถลดละเลิกบุหรี่ได้สำเร็จ ร้อยละ 60

     

    2 เพื่อให้สามารถป้องกันนักสูบบุหรี่หน้าใหม่ได้สำเร็จ
    ตัวชี้วัด : เพื่อให้สามารถป้องกันนักสูบบุหรี่หน้าใหม่ได้สำเร็จ ร้อยละ 20

     

    3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายรู้ถึงพิษภัยของยาเสพติด และสามารถป้องกันตัวเองและครอบครัวให้ห่างไกลจากยาเสพติด
    ตัวชี้วัด : เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายรู้ถึงพิษภัยของยาเสพติด และสามารถป้องกันตัวเองและครอบครัวให้ห่างไกลจากยาเสพติด ร้อยละ 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 160
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถลดละเลิกบุหรี่ได้สำเร็จ (2) เพื่อให้สามารถป้องกันนักสูบบุหรี่หน้าใหม่ได้สำเร็จ (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายรู้ถึงพิษภัยของยาเสพติด และสามารถป้องกันตัวเองและครอบครัวให้ห่างไกลจากยาเสพติด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนเข้มแข็ง ต้านภัยบุหรี่และยาเสพติด ประจำปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 66-L8423-1-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางฟาตีมะห์ ฮะยีอาซัน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด