กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ตำบลบลโตนดด้วน ปีงบประมาณ ๒๕๖๖
รหัสโครงการ 66-L3318-01-01-4
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโตนดด้วน
วันที่อนุมัติ 30 มกราคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 29 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 62,603.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายชัชวาล เรืองเดช
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ คำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 29 มี.ค. 2566 30 ก.ย. 2566 62,603.00
รวมงบประมาณ 62,603.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
17.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
20.00
3 ร้อยละประชาชนที่สงสัยเป็นโรคเบาหวาน
2.00
4 ร้อยละประชาชนที่สงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูง
7.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยเกิดจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไปตามสภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลง เช่น พฤติกรรมการบริโภค การออกกำลังกาย และการจัดการความเครียด เป็นต้น ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มักไม่มีอาการแสดงในระยะแรก และผู้ป่วยมักมาพบแพทย์เมื่อมีอาการ หรือภาวะแทรกซ้อนของโรคกับระบบต่างๆของร่างกายแล้ว จึงทำให้ได้รับการรักษาช้าเกินไปพยาธิสภาพและภาวะแทรกซ้อนของโรคก่อให้เกิดการสูญเสียต่อสุขภาพ เกิดความพิการ และทำให้เสียชีวิตก่อนวัยอันควร ส่งผลต่อทรัพยากรบุคล สังคม และเศรษฐกิจการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย การให้ความรู้การดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเป้าหมาย และการควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติสามารถลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในยะยะยาวได้
จังหวัดพัทลุงสถิติจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงในระดับประเทศย้อนหลัง ปี พ.ศ. 2563 มีจำนวนผู้ป่วย 60,117 คน คิดเป็นอัตราป่วย 951.02 ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ. 256๔ มีจำนวนผู้ป่วย 6๓,๓๖๘ คน คิดเป็นอัตราป่วย 95๕.๖๘ต่อแสนประชากรปี พ.ศ. 256๕ มีจำนวนผู้ป่วย 64,039 คน คิดเป็นอัตราป่วย 935.46ต่อแสนประชากรตามลำดับและสถิติจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานปี พ.ศ. 2563 มีจำนวนผู้ป่วย 25,804 คนคิดเป็นอัตราป่วย 852.86ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ. 256๔ มีจำนวนผู้ป่วย 2๗,3๕๑ คนคิดเป็นอัตราป่วย 8๖๑.๘8 ต่อแสนประชากรปี พ.ศ. 256๕ มีจำนวนผู้ป่วย 28,456 คน
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของโครงการ) โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยเกิดจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไปตามสภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลง เช่น พฤติกรรมการบริโภค การออกกำลังกาย และการจัดการความเครียด เป็นต้น ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มักไม่มีอาการแสดงในระยะแรก และผู้ป่วยมักมาพบแพทย์เมื่อมีอาการ หรือภาวะแทรกซ้อนของโรคกับระบบต่างๆของร่างกายแล้ว จึงทำให้ได้รับการรักษาช้าเกินไปพยาธิสภาพและภาวะแทรกซ้อนของโรคก่อให้เกิดการสูญเสียต่อสุขภาพ เกิดความพิการ และทำให้เสียชีวิตก่อนวัยอันควร ส่งผลต่อทรัพยากรบุคล สังคม และเศรษฐกิจการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย การให้ความรู้การดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเป้าหมาย และการควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติสามารถลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในยะยะยาวได้
จังหวัดพัทลุงสถิติจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงในระดับประเทศย้อนหลัง ปี พ.ศ. 2563 มีจำนวนผู้ป่วย 60,117 คน คิดเป็นอัตราป่วย 951.02 ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ. 256๔ มีจำนวนผู้ป่วย 6๓,๓๖๘ คน คิดเป็นอัตราป่วย 95๕.๖๘ต่อแสนประชากรปี พ.ศ. 256๕ มีจำนวนผู้ป่วย 64,039 คน คิดเป็นอัตราป่วย 935.46ต่อแสนประชากรตามลำดับและสถิติจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานปี พ.ศ. 2563 มีจำนวนผู้ป่วย 25,804 คนคิดเป็นอัตราป่วย 852.86ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ. 256๔ มีจำนวนผู้ป่วย 2๗,3๕๑ คนคิดเป็นอัตราป่วย 8๖๑.๘8 ต่อแสนประชากรปี พ.ศ. 256๕ มีจำนวนผู้ป่วย 28,456 คน คิดเป็นอัตราป่วย 85๕.53ต่อแสนประชากรตามลำดับ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพสุขภาพตำบลโตนดด้วนมีจำนวนสถิติและอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงย้อนหลังปีพ.ศ.2563 มีจำนวนผู้ป่วย 828 คน คิดเป็นอัตราป่วย 1,377.31 ต่อแสนประชากร ปีพ.ศ.256๔ มีจำนวนผู้ป่วย ๘๔๙ คน คิดเป็นอัตราป่วย 1,3๓๙.๗๙ ต่อแสนประชากรปีพ.ศ.256๕ มีจำนวนผู้ป่วย 838 คน คิดเป็นอัตราป่วย 1,308.57 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ และจำนวนสถิติอัตราป่วยด้วนโรคเบาหวานย้อนหลังปีพ.ศ.2563 มีจำนวนผู้ป่วย 388 คน คิดเป็นอัตรา 1,503.64 ต่อแสนประชากร ปีพ.ศ.256๔ มีจำนวนผู้ป่วย ๔๐๕ คน คิดเป็นอัตรา 1,๔๘๐.๗๕ ต่อแสนประชากร ปีพ.ศ.256๕ มีจำนวนผู้ป่วย ๔๐6 คน คิดเป็นอัตรา 1,๔26.๗6 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ จากสถิติดังกล่าว จะเห็นได้ว่ามีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นซึ่งส่งผลให้เกิดมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทำให้ประเทศชาติสูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน และการติดตามน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) ของประชาชนก็มีความสำคัญในการประเมินและคัดกรองเบื้องต้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพสุขภาพตำบลโตนดด้วนมีประชากรในเขตรับผิดชอบจำนวน ๑๑ หมู่บ้าน มีเครื่องเจาะน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว(DTX)จำนวน 6 เครื่องซึ่งไม่เพียงพอ ในการตรวจคัดกรองเชิงรุก เพื่อประเมินความเสี่ยงโรคเบาหวานของประชากรดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพ ให้ประชาชนไม่เป็นโรคเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเพราะทำให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี ลดการสูญเสียงบประมาณในการดูแลการเจ็บป่วยแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเมื่อเกิดเป็นโรคแล้วจึงเป็นทางเลือกที่ดี การป้องกันและการควบคุมโรคซึ่งสามารถกระทำได้ทั้งการส่งเสริมสุขภาพ ประชาชนให้มีความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค 3อ.2ส.และการดูแลสุขภาพในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

เพื่อคัดกรองโรคเบาหวาน ในกลุ่มประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป

90.00 93.00
2 2.เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

2.เพื่อคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป

90.00 93.00
3 3.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส.ในกลุ่มเสี่ยงเป็นโรคจากการคัดกรอง

กลุ่มเสี่ยงเป็นโรคจากการคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส จำนวน1 กลุ่ม จำนวน 50 คน

6.00 7.00
4 4.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส.ในกลุ่มสงสัยเป็นโรคจากการคัดกรอง

กลุ่มสงสัยเป็นโรคจากการคัดกรองได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ.2ส จำนวน1 กลุ่ม จำนวน 30 คน

0.00 8.00
5 5.เพื่อติดตามกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเบาหวาน (ค่า DTX ≥ ๑๐๐ mg/dl ) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

5.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเบาหวาน  (ค่า DTX ≥ ๑๐๐ mg/dl ) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 50

40.00 50.00
6 6.เพื่อติดตามกลุ่มสงสัยความดันโลหิตสูงติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน ( HMBP)

6.กลุ่มสงสัยความดันโลหิตสูงติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน
( HMBP) ร้อยละ 90

30.00 35.00
7 7.เพื่อประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง

7.กลุ่มป่วยได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดร้อยละ 60

40.00 50.00
8 8.. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการที่ รพ.สต.ได้รับบริการตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติ

8.ผู้ป่วยเบาหวานที่มารับบริการที่ รพ.สต.ได้รับบริการตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางปฏิบัติ ร้อยละ 95

90.00 93.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 62,603.00 0 0.00
1 - 31 มี.ค. 66 คัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชากรกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 2,๖59 คน กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง จำนวน 2,๒39 คน 0 30,800.00 -
1 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและ 3อ.2ส.ในกลุ่มเสี่ยงเป็นโรค จำนวน 1 รุ่น ๆละ จำนวน 5๐ คน 0 5,880.00 -
1 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและ 3อ.2ส.ในกลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 1 รุ่น ๆละ จำนวน ๓๐ คน 0 3,660.00 -
1 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 กิจกรรมเจาะ FBSกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเบาหวาน (ค่า DTX ≥ ๑๐๐ mg/dl )หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 360 คน 0 17,160.00 -
1 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 กิจกรรมติดตามกลุ่มสงสัยความดันโลหิตสูงติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน ( HMBP) 0 100.00 -
1 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 กิจกรรมประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จำนวน ๒28 คน 0 114.00 -
1 มี.ค. 66 - 30 ก.ย. 66 กิจกรรมตรวจประเมินสุขภาพเท้าตามแนวทางผุ้ป่วยเบาหวานปฏิบัติ ผู้ป่วยเบาหวาน 36 คน ผู้จัดโครงการ 3 คน รวม 39 คน 0 4,889.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

จำนวนประชากรเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ก.พ. 2566 20:30 น.