กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส บ้านไอร์ลาคอ ตำบลช้างเผือก ปี 2566
รหัสโครงการ 66-L2475-2-09
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ มัสยิดนูรูลฮีดายะห์ (บ้านไอร์ลาคอ)
วันที่อนุมัติ 8 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 14,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสุไลมาน อาแวนุ๊
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 5.997,101.573place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ประชากรไทยส่วนมากมีอาชีพพื้นฐานอยู่ในภาคเกษตรกรรมซึ่งส่วนใหญ่เป็นรายงานนอกระบบผู้มีรายได้น้อยแต่ทำงานที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพจาก สภาพอากาศที่ร้อนจัดถ้าทางทำงานที่มีความเสี่ยงต่อการปวดหลังและกล้ามเนื้ออักเสบรวมทั้งการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพมีพิษแบบเฉียบพลันและเรื้อรังตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนถึงรุนแรงถึงแก่ชีวิตขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้นความเป็นเป็นพิษและปริมาณที่ได้รับสารสารเคมีกำจัดสตูพืชสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทางโดยการสัมผัสทางผิวหนังที่ ไม่สวมถุงมือ และรองเท้าบูทป้องกันในขณะขณะทำงานกับสารเคมีการ ฝึกหายใจละอองที่ฟุ้งกระจายในอากาศและการ รับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่มีสารปนเปื้อนพฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัยทำให้เกษตรกรมีความเสี่ยงจากการได้รับอันตรายจากสารเคมีที่รั่วซึมฉีดพ่นส่วนทิศทางลมทำให้เสื้อผ้าเปียกชุ่มสารเคมีโดยไม่อาบน้ำและเปลี่ยนเสื้อผ้าที่ ซึมเปื้อนทันทีเป็นต้น การใช้สารเคมีในเกษตรกรเริ่มจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเกษตรที่พึ่งตนเองและธรรมชาติการผลิตเพื่อบริโภคเป็นการผลิตการเกษตรอุตสาหกรรมเพื่อการค้าการผลิตที่เน้นปริมาณโดยมิได้คำนึงถึงคุณภาพและความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนสารเคมีชนิดต่างๆซึ่งสารเคมีนี้เป็นอันตรายต่อสุขภาพจากระดับเล็กน้อยจนถึงระดับรุนแรงขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสารเคมีโดยสามารถ รับเข้าสู่ร่างกายได้ทางสัมผัสทางผิวหนังการสูดดมการบริโภคอาหารและน้ำที่ปนเปื้อนสารเคมีและการรั่วซึมของสารเคมีซึ่งอาจก่อให้เกิดการเจ็บป่วยเฉียบพลันเช่นอาการคลื่นไส้อาเจียนเวียนหัวปวดกล้ามเนื้อท้องรั่วหายใจติดขัดตาพร่ามัวและเป็นโรคเรื้อรังเช่นโรคมะเร็งโรคเบาหวานอัมพาตอัมพฤกษ์โรคผิว เป็นต้น ดังนั้น มัสยิดนูรูลฮีดายะห์ จัดทำการเกษตรตะกอนปลอดโรคผู้บริโภคปลอดภัยสมุนไพรร้านพริกกายจิตผ่องใส ตำบลช้างเผือกขึ้นเพื่อให้กลุ่มเกษตรกรมีความรู้เกิดความตระหนักและการดูแลสุขภาพตนเองโดยใช้วิธีธรรมชาติเช่นการใช้สมุนไพรในการถอนพิษสารเคมีเป็นต้นทั้งนี้เพื่อให้เกษตรกรมีสุขภาพที่ดีพึ่งพาตนเองได้และเพื่อผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษควบคุมผู้บริโภคต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของเกษตรกร และตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดที่มีผลต่อสุขภาพ

 

2 เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรและผู้ใช้สารเคมีศัตรูพืชดูแลสุขภาพตนเองโดยใช้วิธีธรรมชาติ

 

3 เพื่อให้เกษตรกรและผู้ใช้สารเคมีศัตรูพืชมีความรู้และความตระหนักในการหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

 

4 เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยและความสูญเสีย

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 0.00 1 14,300.00
10 มี.ค. 66 อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรผู้มีความเสี่ยง เรื่อง การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพ 0 0.00 14,300.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกษตรกรมีความรู้และตระหนักในการหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช 2.ทำให้ทราบถึงสถานการณ์สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ตกค้างในเลือดของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง 3.เกษตรกรและผู้บริโภคมีความปลอดภัยจากสารเคมีการจัดศัตรูพืช

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 ก.พ. 2566 10:20 น.