กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ พัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ม. 3,5 และ 7 ตำบลช้างเผือก
รหัสโครงการ 66-L2475-1-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านไอร์ซือเร๊ะ
วันที่อนุมัติ 8 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 27,560.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวซูฮานา ลืองิ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 5.997,101.573place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 377 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สังคมไทยเป็นสังคมสูงอายุ จากการคาดประมาณประซากรของประเทศไทย ปี ๒๕๕๓ - ๒๕๘๓ ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) โดยใช้ข้อมูลสำมะโนประชากร และเคหะ พ.ศ. ๒๕๕๓ ของสำนักงานสถิติแห่งชาติเป็นฐานในการประมาณ พบว่า ในปี ๒๕๘๓ ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุที่มี อายุ ๖๐ ปีขึ้นไปสูงถึง ๒๐.๕ ล้านคน หรือคิดเป็นสัดสวนร้อยละ ๓๒ ของจำนวนประชากรไทยทั้งหมด โครงสร้างประชากรไทยที่เข้าสู่สังคมสูงอายุจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ เนื่องจากการลดลงของจำนวนและสัดส่วนของประชากรวัยแรงงานกระทบกับศักยภาพการผลิต นอกจากนี้ การเพิ่มของประชากรผู้สูงอายุ ยังสะท้อนการเพิ่มขึ้นของภาระทางการคสัง จากจำนวนประซากรที่อยู่ในวัยพึงพิงทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ นอกจากนี้ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ยังขาดการพัฒนาทักษะทั้งในการทำงานและการดำรงชีวิตในสังคมให้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกผู้สูงอายุไทยร้อยละ ๙๕ มีความเจ็บปวยด้วยโรคหรือปัญหาสุขภาพตังต่อไปนี้ โรคความดันโลหิตสูง (ร้อยละ ๔๑)โรคเบาหวาน (ร้อยละ ๑๘) ข้อเข่าเสื่อม (ร้อยละ ๙) เป็นผู้พิการ (ร้อยละ ๖) โรคซึมเศร้า (ร้อยละ ๑) และผู้ป่วยนอนติดเตียง (ร้อยละ ๑) ขณะที่มีเพียงร้อยละ ㆍ ที่ไม่มีโรคหรือปัญหาสุขภาพ (กรมอนามัย, ๒๕๕๖) จากเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) ของ United Nations เป้าหมายที่ ๓ การมีสุขภาพ ๑0 การลดความเหลื่อมล้ำ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒0 ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ กำหนดและความเป็นอยู่ที่ดี เป้าหมายที่เป้าหมาย "ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งสั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" โดยมียุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการชับเคลื่อนงานด้านผู้สูงอายุในประเต็น ๑ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ๒) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทาง สังคม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖- - ๒๕๖๔) ที่ยึดหลัก "ปรัชญาเศรษฐกิจ ศุกร์ที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๗ ได้กำหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดิน ๑๑ ด้าน โดยนโยบายด้านทีเกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ คือ นโยบายด้านที่ ๓ การลดความเหลื่อมลํ้าของสังคม และการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ ดังนี้ ข้อ ๔ เตรียมความพร้อมสังคมผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและการมีงานหรือกิจกรรมที่เหมาะสม เพื่อสร้างสรรค์ และไม่ก่อภาระต่อสังคม ในอนาคตโดยจัดเตรียมระบบการดูแลในบ้าน สถานพักฟื้น และโรงพยาบาลที่เป็นความร่วมมือของภาครัฐ ภาคอกชน ชุมชน และครอบครัว รวมทั้งพัฒนาระบบการเงิน การคลัง สำหรับการดูแลผู้สู โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านไอร์ชื่อเร๊ะ มีประชากรสูงอายุจำนวน ๓๗๗คน ผู้สูงอายุได้รับการคัดความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน(Barthel Activities of Daily Living : ADL) จำน(ร้อยละ ๑๐๐.๐0 ) พบผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม (ADL ๑๒-๒0 คือ กลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองได้ทั้งหมด) ร้อยละ ๙๘.๔๐ ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน (ADL ๕-๑๑ คือ กลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองได้บางส่วน) ร้อยละ ๑.๕๙ผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียง (ADL๐-๔ คือ กลุ่มที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้เลย) ร้อยละ 0.00 (ที่มางทะเบียนข้อมูลผู้สูงอายุของรพ.สต.ปีงบ ๒๕๖๕) ที่ผ่านมาเน้นการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงมากกว่ากลุ่มติดสังคม ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาเร่งด่วนแต่เป็นการแก้ที่ปลายเหตุ ในปี ๒๕๖๖ จึงเพิ่มแผนการส่งเสริม ป้องกันในผู้สูงอายุ กลุ่มติดสังคม เพื่อลดความเสี่ยงของการเกิดปัญหาสุขภาพ และลดโอกาสการเป็นผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพื่อให้มีสุขภาพดีโดยรวม เพื่อสอดคล้องกับนโยบายของจังหวัดนราธิวาสที่จะแก้ไขปัญหาสุขภาพกลุ่มวัยสูงอายุ โดยใช้โมเดล "ชราธิวาส"จึงได้จัดทำ โครงการการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เข้าถึงการคัดกรองสุขภาพและผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์เพิ่มมากขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
5 เม.ย. 66 ให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุที่พบอาการผิดปกติด้านต่างๆและคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ เพื่อคัดกรองปัญหาสุขภาพและภาวะ Geraitric Syndrom 377 24,660.00 24,660.00
1 ก.ค. 66 - 29 ก.ย. 66 อบรมเชิงปฏิบัติการแก่เจ้าหน้าที่ และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการคัดกรองผู้สูงอายุและคัดกรองผู้สูงอายุ เพื่อคัดกรองสุขภาพและภาวะ Geraitric Syndrom 55 2,900.00 2,900.00
รวม 432 27,560.00 2 27,560.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้สูงอายุมีความรู้ เจตคติ ทักษะและการปฏิบัตินเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้ถูกต้อง
  2. ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงไม่ป่วยด้วยโรคหรือได้รับอุบัติเหตุที่เกิดจากการปฏิบัติตนที่ไม่ถูกต้อง
  3. ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 ก.พ. 2566 11:03 น.