กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหมอศรี


“ โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ รู้พิษภัยบุหรี่ ”



หัวหน้าโครงการ
นางมานิตา เศรษฐพันธ์

ชื่อโครงการ โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ รู้พิษภัยบุหรี่

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5201-02-14 เลขที่ข้อตกลง 16/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ รู้พิษภัยบุหรี่ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหมอศรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ รู้พิษภัยบุหรี่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ รู้พิษภัยบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L5201-02-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,880.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาหมอศรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนและสังคมนอกจากให้ความรู้ในด้านต่าง ๆแก่นักเรียนแล้วยังต้องมีหน้าที่รับผิดชอบดูแลสุขภาพพลานามัยให้สมบูรณ์อยู่เสมอด้วยความตระหนักในข้อเท็จจริงว่าประเทศไทยมีผู้สูบบุหรี่เป็นประจำ 10.4 ล้านคน (พ.ศ. 2557) หรือคิดเป็นจำนวนบุหรี่ที่ถูกสูบมากถึง 105.6 ล้านมวนต่อวัน และมีผู้เสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ปีละ 52,000 คน หรือ 142 คนต่อวัน ซึ่งในปี พ.ศ. 2546 ได้มีการวิจัยพบว่า ค่าใช้จ่ายในการรักษา 3 โรคหลักที่เป็นผลสืบเนื่องจากการสูบบุหรี่คือ มะเร็งปอด ถุงลมโป่งพอง และเส้นเลือดหัวใจตีบ เป็นจำนวนเงิน 46,800 ล้านบาทต่อปี ในขณะที่รายได้ของรัฐจากการเก็บภาษีสรรพสามิตบุหรี่มีจำนวนที่น้อยกว่า เพียงปีละ 43,207 ล้านบาท แต่ในสภาพปัจจุบันปัญหาการสูบบุหรี่ ซึ่งมาในรูปแบบและวิธีการต่าง ๆ แพร่หลายเข้าไปสู่เยาวชนและสถานศึกษาต่าง ๆมากยิ่งขึ้น ทางโรงเรียนจึงมีความจำเป็นที่จะหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าวมิให้เกิดขึ้นในโรงเรียน ซึ่งปัจจุบันเด็กและเยาวชนอยู่ในยุคที่เทคโนโลยีเฟื่องฟู การสูบบุหรี่เป็นพฤติกรรมที่พบเห็นได้ในทุกด้านตั้งแต่วัยรุ่นเป็นต้นไป จนถึงวัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ พฤติกรรมของการสูบบุหรี่ที่ส่วนใหญ่จะเริ่มต้นจากวัยรุ่น โดยเฉพาะในกลุ่มเพื่อนซึ่งจะนำไปสู่การมีพฤติกรรมของการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นพบว่ามีอัตราเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เกิดจากวัยรุ่นมีความเชื่อผิดเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ ขาดความตระหนักในพิษภัยของบุหรี่อีกทั้งวัยรุ่นเป็นวัยแห่งการเรียนรู้ด้วยตนเอง อยากรู้อยากลอง ต้องการเรียนรู้ในกลุ่มเพื่อนสนิท อีกทั้งยังต้องการเป็นที่ยอมรับของกลุ่ม
จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น ทางโรงเรียนจึงมีความจำเป็นที่จะหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ ไม่ให้เกิดขึ้นในโรงเรียนและหมู่บ้าน เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนไทย ส่งเสริมกิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งปัจจุบันเด็กและเยาชนส่วนใหญ่มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสื่อสารผ่านข้อความบนหน้าจอ หาความรู้ได้เองและมีเทคโนโลยที่ตอบคำถามที่อยากรู้ได้ทันที จึงควรแสดงศักยภาพให้สังคมเห็นว่าตนเป็นเยาวชนที่ฉลาดคิด รู้เท่าทัน และสามารถป้องกันตนเองไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของพ่อค้า เพื่อบ่งบอกให้รู้ว่าตนคืออนาคตของประเทศและเลือกที่จะทำสิ่งดีๆแก่ตัวเองและสังคม โรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ รู้พิษภัยบุหรี่ ในโรงเรียนให้กับนักเรียนโรงเรียนวัดนาหมอศรี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน อายุไม่เกิน 25 ปี ในชุมชน
  2. เพื่อลดเด็กและเยาวชนที่เสี่ยงต่อการสูบบุหรี่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมกำหนดนโยบายโรงเรียนปลอดบุหรี่ ทำข้อตกลงร่วมกับผู้ปกครองนักเรียน
  2. อบรมทักษะการเอาตัวรอดและการปฏิเสธบุหรี่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความคิดเห็นของนักเรียน
  3. กิจกรรมเดินรณรงค์เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุและโทษของการสูบบุหรี่ในหมู่บ้าน
  4. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 72
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กและเยาวชนตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในการควบคุมการบริโภคบุหรี่และร่วมรณรงค์เพื่อลด ละ เลิก บุหรี่ 2.เด็กนักเรียนและเยาวชน มีความรู้ มีทักษะการเผยแพร่ การแนะนำการควบคุมการบริโภคบุหรี่และรณรงค์เพื่อลดละ เลิก บุหรี่ 3.เด็กนักเรียนและเยาวชน ร่วมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นตนเอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน อายุไม่เกิน 25 ปี ในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการสูบยาสูบในเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี ในชุมชน
53.23 32.20

 

2 เพื่อลดเด็กและเยาวชนที่เสี่ยงต่อการสูบบุหรี่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชนที่เสี่ยงต่อการสูบบุหรี่
52.42 29.23

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 72
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 72
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน อายุไม่เกิน 25 ปี ในชุมชน (2) เพื่อลดเด็กและเยาวชนที่เสี่ยงต่อการสูบบุหรี่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมกำหนดนโยบายโรงเรียนปลอดบุหรี่ ทำข้อตกลงร่วมกับผู้ปกครองนักเรียน (2) อบรมทักษะการเอาตัวรอดและการปฏิเสธบุหรี่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความคิดเห็นของนักเรียน (3) กิจกรรมเดินรณรงค์เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุและโทษของการสูบบุหรี่ในหมู่บ้าน (4) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ รู้พิษภัยบุหรี่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5201-02-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมานิตา เศรษฐพันธ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด